Page 260 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 260

236


                   นี้กฎหมายระบุไว๎เชํนนั้นอยํางชัดเจน อยํางไรก็ตามข๎อแตกตํางที่สําคัญก็คือ รัฐธรรมนูญของไทยใช๎คําวํา
                   “การเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม”  ในการสื่อความหมายวําเป็น “การปฏิบัติแตกตํางกันซึ่งไมํมีเหตุผล

                   สมควร” สําหรับการปฏิบัติแตกตํางกันซึ่งมีเหตุผลสมควรนั้น ไมํมีการกําหนดคําเฉพาะไว๎ในตัวบท แตํมัก
                   เรียกกันวํา “การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม” ในขณะที่กฎหมายระหวํางประเทศหรือกฎหมายตํางประเทศมัก
                   ใช๎เพียงคําวํา “การเลือกปฏิบัติ” เพื่อสื่อความหมาย “การปฏิบัติแตกตํางกันซึ่งไมํมีเหตุผลสมควร” สําหรับ
                   การปฏิบัติแตกตํางกันซึ่งมีเหตุผลสมควรนั้น ก็จะเรียกวํา “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน”


                           นอกจากรัฐธรรมนูญแล๎ว กฎหมายลายลักษณ์อักษรของไทยที่กําหนดคําวํา “การเลือกปฏิบัติที่ไมํ
                   เป็นธรรม” ปรากฏในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 9

                   ซึ่งกําหนดอํานาจของศาลปกครองในการพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนํวยงานทางปกครองหรือ
                   เจ๎าหน๎าที่ของรัฐกระทําการอัน “มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม..หรือเป็นการใช๎ดุลพินิจโดยมิ
                        129
                   ชอบ”  จากการศึกษาคําพิพากษาศาลปกครองที่เกี่ยวข๎องกับการเลือกปฏิบัติดังกลําวในบทที่ 2 จะเห็นได๎
                   วํา ในการพิจารณาวํากฎ คําสั่งทางปกครอง ที่พิพาทนั้นเป็น “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม” ตาม

                   มาตรา 9 หรือไมํนั้น ศาลใช๎กรอบการพิจารณาอยํางกว๎างโดยพิจารณาประกอบกับประเด็นอื่นๆโดยเฉพาะ
                   การใช๎ดุลพินิจโดยมิชอบซึ่งอาจครอบคลุมเหตุตํางๆนอกเหนือจากเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติดังเชํน เพศ เชื้อ
                   ชาติ ศาสนา ฯลฯ จึงอาจกลําวได๎วํา “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”  ดังที่ปรากฏในคําพิพากษาคดี
                                                                      130
                   ปกครองมีขอบเขตกว๎างกวําเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติโดยทั่วไป  หรืออาจกลําวได๎อีกนัยหนึ่งวํา “การเลือก
                   ปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม”  ในบริบทคดีปกครองนี้ มีขอบเขตและความหมายแตกตํางออกไปจาก “การเลือก
                   ปฏิบัติ”  ตามความตกลงระหวํางประเทศด๎านสิทธิมนุษยชน เนื่องจากการเลือกปฏิบัติตาม มาตรา 9 แหํง
                   พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี นั้นเป็นการพิจารณาภายใต๎แนวคิดของคดีปกครอง

                   แตํการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายระหวํางประเทศนั้นเป็นการพิจารณาภายใต๎แนวคิดสิทธิมนุษยชน







                           4.3.5 วิเคราะห์หลักการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม (Unfair  Discrimination)  ตามกฎหมาย
                   ต่างประเทศเปรียบเทียบกับกฎหมายไทย


                           ดังกลําวมาในหัวข๎อกํอนหน๎านี้ จะเห็นได๎วํา กฎหมายระหวํางประเทศมีการกําหนดหลักความเทํา
                   เทียมกันโดยห๎ามการเลือกปฏิบัติเนื่องจากเป็นการขัดตํอหลักความเทําเทียมกันดังกลําว อยํางไรก็ตาม ใน


                   129
                      พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 9 กําหนดวํา “ศาลปกครองมีอํานาจ
                   พิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งในเรื่องดังตํอไปนี้ (1) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนํวยงานทางปกครองหรือเจ๎าหน๎าที่ของรัฐ
                   กระทําการโดยไมํชอบด๎วยกฎหมายไมํวําจะเป็นการออกกฎ คําสั่ง หรือ การกระทําอื่นใดเนื่องจากการกระทําโดยไมํมี
                   อํานาจหรือนอกเหนืออํานาจหน๎าที่หรือไมํถูกต๎องตามกฎหมาย หรือไมํถูกต๎องตามรูปแบบขั้นตอน...หรือมีลักษณะเป็นการ
                   เลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม..หรือเป็นการใช๎ดุลพินิจโดยมิชอบ”
                   130
                      ดูเพิ่มเติมในการวิเคราะห์ประเด็น “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ”
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265