Page 267 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 267

243


                           ขั้นแรก พิจารณาวํา กฎหมายนั้นปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันหรือไมํ หากผลการพิจารณาชี้วํา
                   กฎหมายนั้นไมํได๎ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกัน กฎหมายนั้นก็ผํานเกณฑ์นี้ และไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติ แตํ

                   หากกฎหมายนั้นปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกัน ก็จะต๎องพิจารณาขั้นที่สองตํอไป


                           ขั้นที่สอง พิจารณาวํา กฎหมายที่ปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันนั้น อยูํบนพื้นฐานเหตุผลการจําแนก
                   ความแตกตํางที่ชอบหรือไมํ ในการนี้จะต๎องแยกพิจารณาเป็นสองกรณีคือ


                           กรณีแรก พิจารณาวํา การจําแนกความแตกตํางระหวํางบุคคลในกลุํมหนึ่งกับบุคคลที่อยูํนอกกลุํม
                   นั้น อยูํบนพื้นฐานเหตุผลที่สามารถเข๎าใจได๎หรือไมํ หากผลการพิจารณาชี้วํา ไมํอยูํบนพื้นฐานเหตุผลที่
                   เข๎าใจได๎ กฎหมายนั้นก็เป็นการเลือกปฏิบัติที่ขัดตํอรัฐธรรมนูญ แตํหากอยูํบนพื้นฐานเหตุผลที่เข๎าใจได๎ ก็

                   จะต๎องพิจารณาในกรณีที่สองตํอไป


                           กรณีที่สอง พิจารณาวํา การปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นมีความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ที่ต๎องการบรรลุ
                   หรือไมํ หากผลการพิจารณาชี้วํา มีความสัมพันธ์กัน หรืออาจกลําวได๎วํากฎหมายซึ่งเป็นวิธีการในการบรรลุ
                   เปูาหมายนั้นได๎สัดสํวนกับเปูาหมายที่ต๎องการบรรลุ กฎหมายนั้นก็ผํานเกณฑ์นี้ และไมํถือเป็นการเลือก
                   ปฏิบัติ แตํหากกฎหมายนั้นไมํมีความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ที่ต๎องการบรรลุ กฎหมายนั้นก็ไมํผํานเกณฑ์

                   กลําวคือ เป็นการเลือกปฏิบัติที่ขัดตํอรัฐธรรมนูญ


                           ประธานศาลสูงสุด (Yong Pung How) ได๎อธิบายไว๎ด๎วยวํา กฎหมายหรือมาตรการที่ไมํผํานเกณฑ์
                   การพิจารณานี้ เรียกวํา “การเลือกปฏิบัติ”  (Discrimination)  ที่ขัดตํอรัฐธรรมนูญ แตํหากกฎหมายหรือ

                   มาตรการนั้นผํานเกณฑ์การพิจารณาดังกลําว ก็จะเป็นเพียงแคํ “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน”

                   (Differentiation) ซึ่งไมํขัดตํอรัฐธรรมนูญ















                           4.3.6 วิเคราะห์รูปแบบและโครงสร้างการก าหนดหลักการห้ามเลือกปฏิบัติ

                           จากการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับความเทําเทียมกันและการห๎ามเลือกปฏิบัติทั้งกรณีกฎหมาย

                   ระหวํางประเทศ กฎหมายตํางประเทศ และกฎหมายไทย จะเห็นรูปแบบโครงสร๎างที่สําคัญดังนี้
   262   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272