Page 261 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 261

237


                   การบัญญัติห๎ามการเลือกปฏิบัตินี้มีการใช๎ถ๎อยคําที่แตกตํางกันออกไป ในประเด็นนี้ หากเปรียบเทียบกับ
                   กฎหมายตํางประเทศแล๎วพบวํา มีบางประเทศที่ระบุการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม (Unfair

                   Discrimination) ไว๎อยํางชัดเจน คือประเทศแอฟริกาใต้ ดังที่ปรากฏตามหลักการของรัฐธรรมนูญดังนี้

                           มาตรา 9


                         (1)  บุคคลทุกคนมีความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายและมีสิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองและได้รับ

                   ประโยชน์ทางกฎหมายเท่าเทียมกัน


                         (2)  ความเท่าเทียมกันครอบคลุมถึงการได้รับสิทธิและเสรีภาพต่างๆ ในการส่งเสริมให้เกิดความเท่า
                   เทียมกันนั้น จะต้องมีการก าหนดมาตรการทางกฎหมายและมาตรการอื่นเพื่อคุ้มครองบุคคลหรือกลุ่มบุคคล

                   ซึ่งเสียเปรียบจากการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม (person disadvantaged by unfair discrimination)


                         (3) รัฐจะต้องไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อบุคคล ด้วยเหตุแห่งการเลือก

                   ปฏิบัติซึ่งรวมถึง เชื้อชาติ เพศ การตั้งครรภ์ สถานะความเป็นมารดา ชาติก าเนิด สีผิว รสนิยมทางเพศ อายุ
                   ความพิการ ศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม ภาษา และถิ่นก าเนิด


                         (4) บุคคลจะต้องไม่กระท าการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อบุคคลอื่นด้วย

                   เหตุดังระบุใน (3) ในการนี้รัฐต้องมีกฎหมายเพื่อปูองกันและห้ามการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมดังกล่าว


                         (5)  การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุดังระบุใน (3)  นั้นถือว่าไม่เป็นธรรม (Unfair)  หากไม่สามารถแสดงให้

                   เห็นได้ว่าการเลือกปฏิบัตินั้นเป็นธรรม (Fair)


                       จะเห็นได๎วํา หากการปฏิบัติที่แตกตํางกันเป็นไปด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติแล๎ว จะได๎รับการ
                   สันนิษฐานไว๎กํอนวําเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม (Unfair) เว๎นแตํจะสามารถแสดงให๎เห็นถึงเหตุผลอัน
                   สมควรได๎วําการกระทํานั้นเป็นการเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม (Fair) เมื่อเปรียบเทียบกับกฎหมายไทยจะเห็นได๎

                   วํา โดยหลักการแล๎วกฎหมายทั้งสองประเทศมุํงคุ๎มครองความเทําเทียมกัน โดยกฎหมายบัญญัติห๎ามการ
                   เลือกปฏิบัติ ในฐานะเป็นการขยายความการคุ๎มครองหลักความเทําเทียมกัน เนื่องจากพิจารณาวําการห๎าม
                   เลือกปฏิบัตินั้นเป็นวิธีการหนึ่งในการบรรลุหลักความเทําเทียมกัน


                           อยํางไรก็ตามในการบัญญัติห๎ามการเลือกปฏิบัตินี้ มีการใช๎ถ๎อยคําที่แตกตํางกัน สําหรับการกระทํา
                   ที่ต๎องห๎ามตามกฎหมายนั้น กฎหมายแอฟริกาใต๎ใช๎คําวํา “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม”  เชํนเดียวกับ
                   กฎหมายไทย เพื่อแยกออกจากการปฏิบัติที่แตกตํางกันแตํมีเหตุผลและวัตถุประสงค์ที่ชอบด๎วยกฎหมาย ซึ่ง

                   กฎหมายแอฟริกาใต๎ระบุไว๎อยํางชัดเจนวํา “การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม” ในขณะที่กฎหมายไทยมิได๎ระบุไว๎
                   ชัดเจนดังกลําว
   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266