Page 256 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 256

232


                   จากการเลือกปฏิบัติ กลําวคือ หลักการพิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติที่แตกตํางนั้นและ
                   ผลกระทบจากการปฏิบัติดังกลําว หากได๎สัดสํวนกันและสมเหตุผล ก็จะทําให๎การปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้น

                   เป็นเพียงการปฏิบัติที่แตกตํางกัน โดยไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติ จะเห็นได๎วําความเห็นทั่วไปมิได๎ใช๎คํา
                   นิยามหรือกําหนดให๎การปฏิบัติที่แตกตํางกันแตํสามารถยอมรับได๎เพราะมีเหตุสมควรและสอดคล๎องกับหลัก
                   ความได๎สัดสํวนระหวํางวัตถุประสงค์และผลกระทบ เป็นการ “เลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม” อาจกลําวได๎วํา ไมํ
                   มีการใช๎คําวํา “การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม”  หรือ “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม”  ทั้งในตัวบทของ

                   สนธิสัญญานี้และในการตีความของกลไกตามสนธิสัญญาแตํอยํางไร

                           ด๎วยเหตุนี้ จากกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศภายใต๎กรอบของสหประชาชาติ ประกอบ

                   กับการตีความจากความเห็นทั่วไปและข๎อแนะนําทั่วไปดังกลําวข๎างต๎น อาจสรุปได๎วํา กฎหมายสิทธิ
                   มนุษยชนระหวํางประเทศได๎วางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติไว๎ โดยมีการจําแนกระหวําง การปฏิบัติที่แตกตํางกัน
                   อันต๎องห๎ามตามกฎหมายซึ่งเรียกวํา “การเลือกปฏิบัติ” กับ การปฏิบัติที่แตกตํางกันอันเข๎าเหตุที่กฎหมาย
                   ถือวําสามารถปฏิบัติแตกตํางกันได๎โดยไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ ซึ่งจะไมํมีการใช๎คําวํา “การเลือกปฏิบัติที่เป็น

                   ธรรม” หรือ “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม” ดังจะได๎ทําการแจกแจงสรุปการใช๎คําเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ
                   ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศตามตารางตํอไปนี้


                   ตารางเปรียบเทียบการใช้ค าเกี่ยวกับ “การเลือกปฏิบัติ” ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
                     กฎหมาย        การปฏิบัติที่    ความหมายของการปฏิบัติที่     การปฏิบัติที่ไม่ต้องห้ามตาม
                     ระหว่าง       ต้องห้ามตาม        ต้องห้ามตามกฎหมาย                  กฎหมาย
                     ประเทศ         กฎหมาย

                   ICCPR        การเลือกปฏิบัติ    ความแตกตํางใดๆ การกีดกัน  ความแตกตํางที่ชอบด๎วยกฎหมาย
                                (Discrimination)  การจํากัด หรือ การปฏิบัติเป็น (Legitimate Differentiation)
                                (Article 26)       พิเศษ (Any Distinction,     (General Comment No. 18)

                                                   Exclusion, Restriction or
                                                   Preference…)
                                                    ซึ่งอยูํบนพื้นฐานของเหตุแหํง
                                                   การเลือกปฏิบัติที่ระบุไว๎

                                                   (General Comment No.
                                                   18)
                   ICESCR       การเลือกปฏิบัติ    การปฏิบัติที่แตกตํางกัน     - การปฏิบัติที่แตกตํางอันสามารถ

                                (Discrimination)  (Differentiation of          ยอมรับได๎ (Permissible Scope
                                (Article 2)        Treatment ) ซึ่งอยูํบน      of Differential Treatment)
                                                   พื้นฐานของเหตุแหํงการเลือก  โดยพิจารณาวัตถุประสงค์และ
                                                   ปฏิบัติที่ระบุไว๎           ผลกระทบ (Aim and effect)

                                                   (General Comment No.  (General Comment No. 20)
                                                   20)                         - มาตรการพิเศษที่มีลักษณะ
   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261