Page 258 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 258
234
กฎหมาย การปฏิบัติที่ ความหมายของการปฏิบัติที่ การปฏิบัติที่ไม่ต้องห้ามตาม
ระหว่าง ต้องห้ามตาม ต้องห้ามตามกฎหมาย กฎหมาย
ประเทศ กฎหมาย
restriction or preference) (General Recommendation
(Article 1) (Article 1) 14)
- “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน
(Differentiation of
Treatment ) จะกํอให๎เกิดการ
เลือกปฏิบัติ (Discrimination)
หากไมํสามารถอ๎างเหตุที่ชอบ
ธรรม (Unjustifiable
impact)
(General
Recommendation 14)
สําหรับกฎหมายสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาคนั้น กรณีสหภาพยุโรป พบวํามิได๎มีการจําแนกการ
เลือกปฏิบัติเป็นกรณี “เป็นธรรม” กับ “ไมํเป็นธรรม” เชํน ในคดี Belgian Linguistics ซึ่งมีประเด็น
127
เกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติในเบลเยี่ยม ECtHR อธิบายวํา หลักความเทําเทียมกันของการปฏิบัติ (Principle
of Equality of Treatment) จะถูกละเมิด หากความแตกตํางในการปฏิบัติ (Distinction) นั้นปราศจาก
วัตถุประสงค์และเหตุผลอันสมควร ซึ่งจะต๎องประเมินจากความสัมพันธ์ระหวํางเปูาหมายและผลกระทบ
(Aim and effects) ของมาตรการนั้น ECtHR อธิบายวํา ความแตกตํางของการปฏิบัติ (Difference of
Treatment) ที่จะไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติ (Discrimination) นั้น ไมํเพียงแตํจะต๎องมีเหตุผลที่ชอบด๎วย
กฎหมาย (Legitimate aim) เทํานั้น แตํยังต๎องมีความสัมพันธ์อยํางสมเหตุผลและได๎สัดสํวนระหวําง
วัตถุประสงค์และวิธีการที่นํามาใช๎เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์นั้นด๎วย
จากคดีนี้จะเห็นได๎วํา ตามกฎหมายสหภาพยุโรปไมํได๎จําแนก การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม กับ การ
เลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม แตํใช๎คําวํา การเลือกปฏิบัติ (Discrimination) ในการคําตัดสินคดีนี้ ECtHR ใช๎
คําวําความแตกตํางในการปฏิบัติ (Distinction / Difference of treatment) ซึ่งยังไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ
จนกวําจะพิจารณาปัจจัยอื่น โดยเฉพาะอยํางยิ่งความสัมพันธ์ระหวํางเปูาหมายที่มุํงประสงค์และวิธีการอัน
นําไปสูํจุดมุํงหมายนั้นวํามีความสมเหตุผลและได๎สัดสํวนหรือไมํ หากมีเหตุผลและได๎สัดสํวน การปฏิบัติที่
แตกตํางก็จะไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ หรืออีกนัยหนึ่งคือเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกันเทํานั้น โดยมิได๎ใช๎คําวํา
เป็นการเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม แตํอยํางไร
127
The Belgian Linguistic case (1968) 1 EHRR 252