Page 255 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 255

231


                           ในกรณีของ ICSCR นั้น หากพิจารณาจาก ความเห็นทั่วไป (General Comment) ของกลไกตาม
                                    124
                   สนธิสัญญา ICESCR  ซึ่งได๎อธิบายโดยจําแนกความแตกตํางระหวํางการเลือกปฏิบัติโดยตรงและโดยอ๎อม
                   ไว๎วํา

                           “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน (Differentiation  Treatment)  ทั้งโดยตรงและโดยอ๎อม อาจเข๎า

                   องค์ประกอบของการเลือกปฏิบัติภายใต๎มาตรา 2 ของสนธิสัญญานี้….”

                           จะเห็นได๎วํา โครงสร๎างของการกําหนดหลักการห๎ามเลือกปฏิบัติตามสนธิสัญญานี้ มุํงพิจารณา

                   ความแตกตํางกันของการปฏิบัติ โดยเรียกวํา “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน (Differentiation Treatment)” ซึ่ง
                   ลําพังความแตกตํางนี้ยังไมํมีความเชื่อมโยงกับการเลือกปฏิบัติ จนกวําจะเข๎าองค์ประกอบอื่นๆ ด๎วย

                                                                                                   125
                           นอกจากนี้ ความเห็นทั่วไป (General  comment)  ของกลไกตามสนธิสัญญา ICESCR   ยังได๎
                   อธิบายถึง ขอบเขตของการปฏิบัติที่แตกตํางอันสามารถยอมรับได๎ (Permissible Scope of Differential

                   Treatment) ไว๎วํา


                           “การปฏิบัติที่แตกตํางกันบนพื้นฐานของเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติจะถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติ เว๎น
                   แตํสาเหตุแหํงการปฏิบัติที่แตกตํางนั้นมีความสมเหตุผลและเป็นภาวะวิสัย ซึ่งอาจประเมินด๎วยการพิจารณา

                   วัตถุประสงค์และผลกระทบ (Aim  and  effect)  ของมาตรการหรือการละเว๎นนั้นวําชอบด๎วยกฎหมาย
                   หรือไมํ โดยเปรียบเทียบกับลักษณะของสิทธิตามสนธิสัญญานี้และเพื่อวัตถุประสงค์ของการสํงเสริมความ
                   เป็นอยูํที่ดีในสังคมประชาธิปไตย นอกจากนี้ สัดสํวนระหวํางวัตถุประสงค์ที่ต๎องการบรรลุและมาตรการ
                   สําหรับเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์นั้นจะต๎องมีความสัมพันธ์ที่ชัดเจนและสมเหตุผลด๎วย...”


                           ดังนั้น โดยหลักแล๎ว เมื่อมีการปฏิบัติที่แตกตํางกันเกิดขึ้นด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ ก็จะถือวํา
                   เข๎าองค์ประกอบและเรียกได๎วํา “การเลือกปฏิบัติ”  อยํางไรก็ตาม หากการปฏิบัติที่แตกตํางนั้นมีลักษณะ

                   และองค์ประกอบเข๎าเหตุที่เรียกวํา “การปฏิบัติที่แตกตํางอันสามารถยอมรับได๎ (Permissible  Scope  of
                                                                                           126
                   Differential  Treatment)”  ตามความเห็นทั่วไปนี้ ก็จะไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติ  จะเห็นได๎วําจาก
                   ความเห็นทั่วไปนั้น ใช๎หลักการและปัจจัยตํางๆในการจําแนกการปฏิบัติที่แตกตํางอันมีเหตุชอบธรรม ออก


                   124
                      General comment No. 20 Non-discrimination in economic, social and cultural rights (art. 2, para. 2,
                   of the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights)
                   125  General comment No. 20 Non-discrimination in economic, social and cultural rights (art. 2, para. 2,
                   of the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights)
                   126
                      หากพิจารณาจากความเห็นทั่วไป ซึ่งอธิบายวํา “การปฏิบัติที่แตกตํางกันบนพื้นฐานของเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติจะถือ
                   วําเป็นการเลือกปฏิบัติ เว๎นแตํสาเหตุแหํงการปฏิบัติที่แตกตํางนั้นมีความสมเหตุผลและเป็นภาวะวิสัย”  ( Differential
                   treatment based on prohibited grounds will be viewed as discriminatory unless the justification for
                   differentiation is reasonable and objective) หากตีความตามลายลักษณ์อักษรในทางกลับกันแล๎วอาจกลําวได๎วํา การ
                   ปฏิบัติที่แตกตํางกันบนพื้นฐานของเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติแตํมีความสมเหตุผลและเป็นภาวะวิสัยแล๎ว ก็ไมํถือวําเป็นการ
                   เลือกปฏิบัติ
   250   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260