Page 254 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 254

230


                           นอกจากนี้ ความเห็นทั่วไปของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ (General Comment
                   No. 18) ได๎มีการอธิบายมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก (Affirmative Action) ไว๎วํา “.... มาตรการดังกลําว

                   อาจเกี่ยวข๎องกับการให๎สิทธิพิเศษบางประการกับบุคคลบางกลุํมเมื่อเปรียบเทียบกับบุคคลกลุํมอื่นในชํวง
                   ระยะเวลาหนึ่ง ตราบใดที่มาตรการดังกลําวมีความจําเป็นเพื่อการแก๎ไขการเลือกปฏิบัติที่เกิดขึ้นในความ
                   เป็นจริงแล๎ว มาตรการนั้นเป็นกรณีของ ความแตกต่างที่ชอบด้วยกฎหมาย               (Legitimate
                   Differentiation)…” จะเห็นได๎วํา โดยลักษณะของมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวกนั้นเป็นการปฏิบัติตํอบุคคล

                   บางกลุํมแตกตํางจากบุคคลอื่น ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นการเลือกปฏิบัติโดยตรง แตํหากกรณีนั้นมีความจําเป็นที่
                   จะต๎องปฏิบัติตํอบุคคลบางกลุํมเป็นพิเศษเพื่อบรรลุหลักความเทําเทียมกันเนื่องจากบุคคลบางกลุํมอยูํใน
                   สภาวะหรือเงื่อนไขที่เสียเปรียบเมื่อเทียบกับบุคคลอื่น การปฏิบัติแตกตํางกันนั้นจึงเข๎าเหตุที่กฎหมาย
                   ระหวํางประเทศยอมให๎ปฏิบัติแตกตํางได๎ และจะไมํเรียกการปฏิบัติที่แตกตํางดังกลําววําเป็นการ “เลือก

                   ปฏิบัติ” แตํจะเรียกวํา “ความแตกต่างที่ชอบด้วยกฎหมาย” (Legitimate Differentiation)

                           ตามสนธิสัญญา CERD  พบวํา การแปลความหมายของการเลือกปฏิบัติ ก็มิได๎มีการกําหนดคําวํา

                   การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม แยกจาก การเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้จากข๎อแนะนําของกลไกตามสนธิสัญญา
                        121
                   CERD  ชี้ให๎เห็นวํา “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน (Differentiation  of  Treatment  ) จะไมํกํอให๎เกิดการ
                   เลือกปฏิบัติ (Discrimination)  หากพิจารณาเกณฑ์สําหรับการปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นเปรียบเทียบกับ
                   วัตถุประสงค์และจุดมุํงหมายของสนธิสัญญาแล๎วมีความชอบธรรมหรือตกอยูํในขอบเขตมาตรา 1 ยํอหน๎า 4

                   ของสนธิสัญญานี้ ในการพิจารณาเกณฑ์ดังกลําว คณะกรรมการยอมรับวําการกระทําใดการกระทําหนึ่งอาจ
                   มีวัตถุประสงค์หลากหลาย ดังนั้น ในการกําหนดวําการกระทําอันหนึ่งสํงผลขัดแย๎งตํอหลักการตาม
                   สนธิสัญญานี้ คณะกรรมการจะพิจารณาวําการกระทํานั้นกํอให๎เกิดผลกระทบอันไมํสามารถอ๎างเหตุที่ชอบ

                   ธรรม (Unjustifiable  Impact)  ตํอบุคคลที่ถูกจําแนกความแตกตํางด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติ สีผิว บรรพบุรุษ
                   สัญชาติ ถิ่นกําเนิด”


                           ดังนั้นจะเห็นได๎วํา หากการปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นมีเหตุอันชอบธรรมแล๎ว ก็จะไมํอยูํในขอบเขต
                   ของการเลือกปฏิบัติ โดยเป็นเพียง “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน” ซึ่งไมํต๎องห๎ามตามกฎหมาย แตํมิได๎เรียกวํา
                   “การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม” แตํอยํางไร

                                                                                                         122
                           สําหรับ CRPD นั้น วางหลัก “ให๎รัฐภาคีห๎ามการเลือกปฏิบัติทั้งปวงเพราะเหตุแหํงความพิการ”
                   แตํกําหนดยกเว๎นสําหรับการดําเนินการ “จัดให๎มีการชํวยเหลือที่สมเหตุสมผล” รวมทั้ง การมี “มาตรการ
                   เฉพาะซึ่งจําเป็นในการเรํงหรือเพื่อให๎บรรลุถึงความเทําเทียมกันในทางปฏิบัติ” ซึ่งจะไมํถือวําเป็นการเลือก
                         123
                   ปฏิบัติ






                   121  CERD General Recommendation 14 (Art. 2, para. 1: Definition of discrimination)
                   122  Article 2, CRPD
                   123
                      Article 5, CRPD ใช๎คําวํา “…shall not be considered discrimination…”
   249   250   251   252   253   254   255   256   257   258   259