Page 252 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 252

228


                   เปรียบเทียบระหวํางสองสิ่ง กลําวคือ บุคคลธรรมดาหรือองค์กรอื่นที่มิใชํสถาบันการเงิน กับ สถาบันการเงิน

                   ตามกฎหมายเฉพาะ จะเห็นได๎วํา มีลักษณะการดําเนินธุรกิจที่แตกตํางกัน จึงไมํใชํสิ่งที่ “เหมือนกัน”  อัน
                   ควรต๎องได๎รับการปฏิบัติที่ “เหมือนกัน”  (2)  ความแตกตํางในการเรียกดอกเบี้ยดังกลําวมิได๎สืบเนื่องจาก

                   “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ” ตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน เชํน เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ฯลฯ อยํางไรก็ตามศาล

                   รัฐธรรมนูญมิได๎ระบุถึงเหตุผลเหลํานี้เนื่องจากให๎เหตุผลวํา “ได๎รับความคุ๎มครองตามกฎหมายและเป็นไป
                   ตามพระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให๎กู๎ยืมของสถาบันการเงินฯ และพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน

                   ธุรกิจ หลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ฯ”


                           จะเห็นได๎วํา รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย และ กฎหมายปกครอง (พระราชบัญญัติจัดตั้งศาล
                   ปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542)  ตํางวางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติไว๎เชํนเดียวกัน โดยถ๎อยคํา
                   ในตัวบทเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัตินั้นตํางมีองค์ประกอบของคําวํา “ไมํเป็นธรรม” เชํนเดียวกัน


                            อยํางไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบระหวําง “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”  ตามรัฐธรรมนูญ กับ
                   “การปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม”  ตามกฎหมายปกครองแล๎ว พบวํามีข๎อแตกตํางที่สําคัญก็คือ “การเลือกปฏิบัติ

                   โดยไมํเป็นธรรม”  ตามหลักการของตัวบทรัฐธรรมนูญนั้น สะท๎อนหลักการตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน
                   ระหวํางประเทศ เนื่องจากวางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติที่มีความสัมพันธ์กับ “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน ตาม
                   มาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 กําหนดวําการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมเกี่ยวข๎องกับ ถิ่น
                   กําเนิด  เชื้อชาติ  ภาษา  เพศ  อายุ  ความพิการ  สภาพทางกายหรือสุขภาพ  สถานะของบุคคล  ฐานะทาง

                   เศรษฐกิจหรือสังคม  ความเชื่อทางศาสนา  การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง”  แตํเมื่อ
                   พิจารณาคําวํา “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม” ตามตัวบทของกฎหมายปกครองนั้น พบวําศาลปกครองได๎
                   ตีความในกรอบที่กว๎างกวําการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิ
                   มนุษยชน ทั้งนี้เนื่องจากหลักการของกฎหมายปกครองดังกลําวมุํงเน๎นการแก๎ไขความไมํชอบด๎วยกฎหมาย

                   ของหนํวยงานทางปกครองหรือเจ๎าหน๎าที่ของรัฐ ซึ่งมีขอบเขตกว๎างกวํากฎหมายสิทธิมนุษยชน

                           อยํางไรก็ตาม แม๎วํา “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”  ตามตัวบทของรัฐธรรมนูญนั้น จะ

                   เกี่ยวข๎องสัมพันธ์กับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสิทธิมนุษยชน แตํจากแนวคําพิพากษาศาล
                   รัฐธรรมนูญนั้นจะเห็นได๎วํา การกลําวอ๎างวํามีการเลือกปฏิบัติเกิดขึ้นอันขัดตํอรัฐธรรมนูญมาสูํศาล
                   รัฐธรรมนูญนั้น มักจะอ๎างเหตุที่กว๎างกวํา “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ”  ตามที่รัฐธรรมนูญกําหนด เชํน การ
                   อ๎างวํามีการเรียกดอกเบี้ยได๎แตกตํางกัน การอ๎างวําเงินที่กฎหมายกําหนดไมํให๎ต๎องอยูํในความรับผิดแหํง

                   การบังคับคดีมีความแตกตํางกัน เป็นต๎น ซึ่งความแตกตํางเหลํานี้มิได๎เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ
                   ลักษณะเชํนนี้สะท๎อนถึงสภาพความเข๎าใจและกรอบแนวคิดของผู๎ร๎องหรือผู๎ที่ถูกกระทบสิทธิ ซึ่งเข๎าใจ
                   ความหมายของ “การเลือกปฏิบัติ”  อยํางกว๎าง ครอบคลุมสิ่งใดๆที่ตนเห็นวําเกิดความแตกตํางและไมํเทํา

                   เทียมกัน แม๎วําไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติก็ตาม อยํางไรก็ตามศาลรัฐธรรมนูญได๎มีการตีความ
                   “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”  ให๎สอดคล๎องกับ “เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ”  ดังจะได๎แยกวิเคราะห์
   247   248   249   250   251   252   253   254   255   256   257