Page 250 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 250

226


                   วํา “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม” เชํนเดียวกับรัฐธรรมนูญ ในขณะที่กฎหมายเฉพาะบางฉบับมิได๎ใช๎
                   คําวํา “การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”  แตํใช๎เพียงคําวํา “เลือกปฏิบัติ”  ซึ่งในประเด็นนี้จะได๎ศึกษา

                   เปรียบเทียบกับกฎหมายระหวํางประเทศและกฎหมายตํางประเทศตํอไป




                           4.3.2 วิเคราะห์หลักการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม (Unfair  Discrimination)  ตามแนวค า
                   พิพากษาศาลไทย : ศาลปกครอง


                           ในบริบทของกฎหมายปกครองนั้น พบวํา พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
                   ปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 9 ได๎บัญญัติ “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม” ไว๎เป็นการเฉพาะ ดังจะเห็นได๎

                   จากหลักของมาตรา 9 ที่วํา

                           “ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งในเรื่องดังตํอไปนี้ (1) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่

                   หนํวยงานทางปกครองหรือเจ๎าหน๎าที่ของรัฐกระทําการโดยไมํชอบด๎วยกฎหมายไมํวําจะเป็นการออกกฎ
                   คําสั่ง หรือ การกระทําอื่นใดเนื่องจากการกระทําโดยไมํมีอํานาจหรือนอกเหนืออํานาจหน๎าที่หรือไมํถูกต๎อง
                   ตามกฎหมาย หรือไมํถูกต๎องตามรูปแบบขั้นตอน...หรือ มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม...หรือ
                   เป็นการใช๎ดุลพินิจโดยมิชอบ”


                           จากการศึกษาคําพิพากษาศาลปกครองที่เกี่ยวข๎องกับการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม พบวํา ในการ
                   ฟูองคดีปกครองที่มีประเด็นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ ผู๎ฟูองคดีมักจะโต๎แย๎งวํากฎ หรือ คําสั่งทางปกครองนั้น

                   เป็นการเลือกปฏิบัติ โดยสํวนใหญํแล๎วผู๎ฟูองไมํได๎แสดงให๎เห็นโดยการเปรียบเทียบวําคําสั่งนั้นเป็นการ
                   ปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางตนเองกับบุคคลอื่นซึ่งอยูํในสภาวะที่เหมือนกัน แตํมักเป็นการกลําวอ๎างการ
                   เลือกปฏิบัติขึ้นมาพร๎อมกับการโต๎แย๎งดุลพินิจของเจ๎าหน๎าที่รัฐวําเป็นการใช๎ดุลพินิจโดยมิชอบ เชํน ในคดีที่

                   ผู๎ฟูองเห็นวําคําสั่งที่ให๎พ๎นจากตําแหนํงมิชอบ เนื่องจากเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมและใช๎ดุลพินิจโดยไมํ
                   ชอบ เพราะวําปกปิดรายชื่อพยานในชั้นการสอบสวนทางวินัย ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวํา แม๎
                   คณะกรรมการ สอบสวนจะปกปิดรายชื่อพยาน มิให๎ผู๎ฟูองคดีทราบก็ตาม แตํในบันทึกแจ๎งข๎อกลําวหาและ
                   สรุปพยานหลักฐานที่ สนับสนุนข๎อกลําวหาที่ แจ๎งผู๎ฟูองคดีก็มีรายละเอียดของถ๎อยคําพยานดังกลําว แล๎ว
                   ปรากฏตามคําคัดค๎านคําให๎การของผู๎ฟูองคดีกรณีจึงถือได๎วําผู๎ฟูองคดีได๎ทราบข๎อเท็จจริงอยํางเพียงพอ และ

                   ผู๎ฟูองคดีก็ได๎โต๎แย๎งและชี้แจงแสดงพยานหลักฐานแล๎ว กรณีจึงไมํทําให๎ ผู๎ฟูองคดีทั้งสองเสียเปรียบ และไมํ
                   ถือเป็นการเลือกปฏิบัติแตํอยํางใด (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.93/2548) สําหรับ คําพิพากษาศาล
                   ปกครองสูงสุดที่  อ.399/2551  นั้นก็มีลักษณะเชํนเดียวกัน กลําวคือเป็นคดีปกครองที่ผู๎ฟูองคดีผํานเกณฑ์

                   ประเมิน  แตํผู๎ถูกฟูองคดีไมํตํอสัญญาจ๎างให๎แกํผู๎ฟูองคดี โดยองค์การบริหารสํวนตําบลผู๎ถูกฟูองคดีอ๎างวํา
                   เหตุที่ไมํพิจารณาจ๎างผู๎ฟูองคดีตํอไปเป็นเพราะตําแหนํงที่วํางนี้มีแผนที่จะใช๎บรรจุนางสาว  ภ.  เข๎าเป็น
                   พนักงานสํวนตําบลตามแผนอัตรากําลัง 3 ปี ศาลเห็นวํา กรณีของนางสาว ภ. เป็นการบรรจุผู๎สอบแขํงขันได๎
                   เข๎ารับราชการเป็นพนักงานสํวนตําบลในตําแหนํงเจ๎าพนักงานการเงินและบัญชี มิใชํบรรจุเข๎าปฏิบัติงานใน

                   ตําแหนํงเจ๎าหน๎าที่การเงินและบัญชี ซึ่งเป็นตําแหนํงลูกจ๎างชั่วคราวเหมือนกับผู๎ฟูองคดี นอกจากนี้ ศาลยัง
   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254   255