Page 249 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 249

225


                           การกระทําในลักษณะที่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตํอคนพิการตามวรรคหนึ่งให๎
                   หมายความรวมถึงการกระทําหรืองดเว๎นกระทําการที่แม๎จะมิได๎มุํงหมายให๎เป็นการเลือกปฏิบัติตํอคนพิการ

                   โดยตรง แตํผลของการกระทํานั้นทําให๎คนพิการต๎องเสียสิทธิประโยชน์ที่ควรจะได๎รับเพราะเหตุแหํงความ
                   พิการด๎วย


                           การเลือกปฏิบัติที่มีเหตุผลทางวิชาการ จารีตประเพณี หรือประโยชน์สาธารณะสนับสนุนให๎กระทํา
                   ได๎ตามความจําเป็นและสมควรแกํกรณี ไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตามวรรคหนึ่งและวรรค
                   สอง แตํผู๎กระทําการนั้นจะต๎องจัดให๎มีมาตรการชํวยเหลือเยียวยาหรือรักษาซึ่งสิทธิหรือประโยชน์แกํคน
                   พิการตามความจําเป็นเทําที่จะกระทําได๎”


                           พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2542 มาตรา 22 วางหลักวํา


                           “การปฏิบัติตํอเด็กไมํวํากรณีใด ให๎คํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสําคัญและไม่ให้มีการเลือก
                   ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม


                           การกระทําใดเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็ก หรือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอเด็ก
                   หรือไมํ ให๎พิจารณาตามแนวทางที่กําหนดในกฎกระทรวง”


                           พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติพ.ศ. 2550 มาตรา 7 วางหลักวํา


                           “ให๎เด็กและเยาวชนทุกคนมีสิทธิได๎รับการจดทะเบียนรับรองการเกิด การพัฒนา การยอมรับ การ
                   คุ๎มครองและโอกาสในการมีสํวนรํวมตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข๎องอยํางเทํา
                   เทียม โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ
                   ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม

                   ความเชื่อทางศาสนาและวัฒนธรรม การศึกษาอบรม ความคิดเห็นทางการเมือง การเกิดหรือสถานะอื่นของ
                   เด็กและเยาวชน บิดามารดา หรือผู๎ปกครอง”


                           พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มาตรา 5 วางหลัก
                   วํา “วัยรุํนมีสิทธิตัดสินใจด๎วยตนเอง และมีสิทธิได๎รับข๎อมูลขําวสารและความรู๎ ได๎รับการบริการอนามัยการ
                   เจริญพันธุ์ ได๎รับการรักษาความลับและความเป็นสํวนตัว ได๎รับการจัดสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาคและ

                   ไม่ถูกเลือกปฏิบัติ และได๎รับสิทธิอื่นใดที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้อยํางถูกต๎อง ครบถ๎วน
                   และเพียงพอ”


                           จะเห็นได๎วํากฎหมายระดับพระราชบัญญัติดังกลําว สะท๎อนถึงแนวคิดในการคุ๎มครองความเสมอ
                   ภาคหรือความเทําเทียมกัน โดยกําหนดห๎าม “การเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม” ซึ่งถือวําขัดตํอหลักความเทํา
                   เทียมกัน และกําหนดยกเว๎นการกระทําบางอยํางซึ่งมีลักษณะของมาตรการที่ปฏิบัติแตกตํางกันตํอบุคคล
                   แตํเป็นไปเพื่อสํงเสริมให๎บรรลุวัตถุประสงค์ความเทําเทียมกันวําไมํเป็น “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม”

                   อยํางไรก็ตามกฎหมายเฉพาะฉบับตํางๆ ได๎ใช๎ถ๎อยคําเรียกการปฏิบัติอันแตกตํางกันที่ต๎องห๎ามตามกฎหมาย
   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254