Page 247 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 247

223


                           โดยนัยนี้ การเลือกปฏิบัติจึงเป็นหลักที่มีความสัมพันธ์กับหลักความเทําเทียมกัน กลําวคือ การ
                   กระทํานั้นหากเข๎าองค์ประกอบตามวรรคสามก็จะเป็นการ “เลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม”  อันขัดตํอหลัก

                   ความเทําเทียมกัน แตํหากการกระทํานั้นเข๎าองค์ประกอบตามวรรคท๎ายก็จะถูกยกเว๎นไมํถือเป็น “การเลือก
                   ปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม” ซึ่งการกระทําลักษณะนี้อาจอธิบายวําเป็น “การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม” เพื่อเป็น
                   การจําแนกการปฏิบัติที่ไมํขัดตํอหลักความเสมอภาคและการปฏิบัติที่สอดคล๎องกับหลักความเสมอภาค
                   แม๎วํารัฐธรรมนูญจะมิได๎เรียกวํา “การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม”  ก็ตาม อยํางไรก็ตามมีข๎อสังเตกวํา

                   รัฐธรรมนูญมิได๎กําหนดนิยามความหมายของ “การเลือกปฏิบัติ” (Discrimination) ไว๎




                           รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550



                           รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีหลักการเกี่ยวกับความเทําเทียมกัน และ
                   การเลือกปฏิบัติดังนี้


                           มาตรา 5


                           “ประชาชนชาวไทยไม่ว่าเหล่าก านิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อมอยู่ใน ความคุ้มครองแห่งรัฐธรรมนูญ

                   นี้เสมอกัน”


                           มาตรา 30


                            “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย เท่าเทียมกัน


                           ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน


                           การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่นก าเนิด  เชื้อชาติ

                   ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ หรือสังคม

                   ความเชื่อทางศาสนา  การศึกษาอบรม  หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่ง
                   รัฐธรรมนูญจะกระท ามิได้


                           มาตรการที่รัฐก าหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิและ  เสรีภาพได้

                   เช่นเดียวกับบุคคลอื่น ย่อมไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามวรรคสาม”
   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252