Page 248 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 248

224


                           จากหลักการข๎างต๎น จะเห็นได๎วํา แนวคิดการเลือกปฏิบัติยังคงบัญญัติอยูํในมาตรา 30 โดยนํา

                   แนวคิดความเสมอภาคระหวํางเพศ แนวคิดการเลือกปฏิบัติมาจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 แตํมีการเพิ่มเติม
                                                        117
                   เหตุแหํงการเลือกปฏิบัติใหมํเชํน ความพิการ

                           นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 พบวํา การวางหลักเกี่ยวกับความ

                   เสมอภาคและการเลือกปฏิบัติของรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีลักษณะคล๎ายคลึงกับรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2540
                   กลําวคือ กําหนดความเทําเทียมกันไว๎เป็นหลัก โดยกําหนดการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมไว๎วําเป็นสิ่งซึ่งขัด
                   ตํอหลักความเทําเทียมกันดังกลําว และกําหนดยกเว๎นการกระทําบางอยํางซึ่งมีลักษณะของมาตรการที่
                   ปฏิบัติแตกตํางกันตํอบุคคล แตํเป็นไปเพื่อสํงเสริมให๎บรรลุวัตถุประสงค์ความเทําเทียมกันวําไมํเป็นการเลือก

                   ปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม โดยนัยดังกลําวสะท๎อนถึงแนวคิดการจําแนกความแตกตํางของ “การปฏิบัติที่แตกตําง
                   กันตํอบุคคล” (Differential treatment) ออกเป็น “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม” และ “การกระทําที่ไมํ
                   เป็นการเลือกปฏิบัติ” ซึ่งอาจเรียกโดยพิจารณาความหมายตรงข๎ามกันกับการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม วํา
                   “การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม” แม๎วําคํานี้จะไมํมีกําหนดไว๎ในรัฐธรรมนูญก็ตาม


                            สําหรับกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติบางเหตุ ก็มีหลักการและรูปแบบ
                   การบัญญัติกฎหมายเชํนเดียวกับรัฐธรรมนูญ ดังจะเห็นได๎จาก


                            พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 มาตรา 17 ซึ่งวางหลักวํา


                           “การก าหนดนโยบาย กฎ ระเบียบ ประกาศ มาตรการ โครงการ หรือวิธีปฏิบัติ ของหน่วยงานของ

                   รัฐ องค์กรเอกชน  หรือบุคคลใดในลักษณะที่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม  ระหว่างเพศจะกระท า
                   มิได้


                           การด าเนินการตามวรรคหนึ่ง  เพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิและเสรีภาพ

                   ได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพและความปลอดภัย หรือการปฏิบัติตามหลักการ ทาง
                   ศาสนา หรือเพื่อความมั่นคงของประเทศ ย่อมไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ”


                           พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 มาตรา 15 ซึ่งวางหลักวํา


                           “การกําหนดนโยบาย กฎ ระเบียบ มาตรการ โครงการ หรือวิธีปฏิบัติของหนํวยงานของรัฐ องค์กร

                   เอกชน หรือบุคคลใดในลักษณะที่เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตํอคนพิการจะกระทํามิได๎






                   117  คณะกรรมการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภารํางรัฐธรรมนูญ, เจตนารมณ์
                   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ส านักกรรมาธิการ 3 ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร,
                   หน๎า 23.
   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253