Page 245 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 245

221


                           มาตรา 30


                           “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน


                           ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน


                           การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่นก าเนิด  เชื้อชาติ

                   ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทาง
                   ศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระท า

                   มิได้


                           มาตรการที่รัฐก าหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิและเสรีภาพได้

                   เช่นเดียวกับบุคคลอื่น ย่อมไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมตามวรรคสาม”


                           มาตรา 80


                           “รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน ส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้าง

                   และพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของครอบครัวและความเข้มแข็งของชุมชน”





                           จากหลักของรัฐธรรมนูญดังกลําวอาจพิจารณาได๎วํา แนวคิดการเลือกปฏิบัติ เป็นการกําหนดห๎ามมิ
                   ให๎มีการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมด๎วยเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ
                   สภาพทางกาย  หรือสุขภาพ  สถานะของบุคคล  ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม  ความเชื่อทางศาสนา

                   การศึกษาอบรมหรือ  ความคิดเห็นทางการเมืองอันไมํขัดตํอบทบัญญัติแหํงรัฐธรรมนูญ  เป็นการบัญญัติ
                   เพื่อให๎เกิดความชัดเจนวํา  การกระทําของรัฐเพื่อขจัดอุปสรรคที่ทําให๎เกิดความเสมอภาค  ยํอมไมํเป็นการ
                   เลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม และ ไมํขัดกับวรรคสาม และวรรคหนึ่ง โดยการปฏิบัติที่แตกตํางกับผู๎ที่มีลักษณะ
                                                                                                    114
                   แตกตํางจากบุคคลอื่นทั่วไปเพื่อ สํงเสริมให๎เกิดความเสมอภาคไมํถือวําเป็นการปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม

                           ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโน สมาชิกสภารํางรัฐธรรมนูญได๎อธิบายในการประชุมรํวมกัน

                   ของรัฐสภาในการพิจารณาให๎ความเห็นชอบรํางรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ... วําการ
                                                                                            115
                   เลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม ต๎องเป็นการเลือกปฏิบัติที่สมเหตุสมผล และได๎ยกตัวอยํางไว๎ดังนี้  นาย ก จํายเงิน



                   114   ไพโรจน์ พรเพชร และ คณะ,  รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการวิจัย การติดตามและประเมินผลบังคับใช้
                   รัฐธรรมนูญ เรื่องสิทธิเสรีภาพและศักด์ศรีความเป็นมนุษย์ (2547), หน๎า 62-63.
                   115
                      รายงานการประชมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 3 (สมัยสามัญ ครั้งที่ 2) (2540), หน๎า 230-232.
   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250