Page 246 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 246

222


                   เพื่อซื้อตั๋วรถโดยสารชั้นหนึ่ง นาย ก จํายเงินมากกวํา ยํอมต๎องได๎รับการบริการที่ดีกวํา ในกรณีการจัดตั้ง

                   ศาลเด็กเป็นการเลือกปฏิบัติ แตํเป็นการเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม เพราะวําเด็กมีสติสัมปชัญญะแตกตํางจาก
                   ผู๎กระทําผิดที่เป็นผู๎ใหญํ ในกรณีการกําหนดคุณสมบัติตํางๆ ของสมาชิกสภาผู๎แทนราษฎร โดยเฉพาะเรื่อง

                   การศึกษา ที่มีแนวโน๎มวําต๎องการให๎ผู๎ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู๎แทนราษฎรต๎องมีวุฒิปริญญาตรี จะมี

                   การกําหนดคุณสมบัติผู๎ที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งได๎หรือไมํ หรือการกําหนดคุณสมบัติวําบุคคลใดมีสิทธิสอบ
                   เข๎ามหาวิทยาลัยหรือไมํ  การกําหนดคุณสมบัติเป็นเงื่อนไขเบื้องต๎นกํอนที่จะมีสิทธิ  คุณสมบัติไมํใชํสิทธิใน

                   ตัวเอง ถ๎าเป็นสิทธิต๎องกํอให๎เกิดหน๎าที่ ดังนั้น ในการกําหนดคุณสมบัติจึงมิใชํการรอนสิทธิ ดังนั้น การเลือก
                   ปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม (Unfair Discrimination) คือ การเลือกปฏิบัติ ที่ปราศจากเหตุผลหรือไร๎เหตุผล ถ๎า

                   เป็นเหตุผลที่คนทั่วไปยอมรับแล๎วก็จะไมํเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม”


                           อาจารย์แก๎วสรร อติโพธิ สมาชิกสภารํางรัฐธรรมนูญได๎อธิบายมาตรา 30 วรรคสามวํา การเลือก
                   ปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมประกอบด๎วย 2 ปัจจัย คือ การปฏิบัติที่แตกตําง และ ลักษณะที่ไมํเป็นธรรม โดยปัจจัย

                   สําคัญประการหนึ่งคือการที่บุคคลไมํสามารถกําหนดถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ และศาสนา และ

                   บุคคลเหลํานั้น  ถูกปฏิบัติที่แตกตํางไปเพราะลักษณะเหลํานั้น  เป็นการปฏิบัติที่ไมํยุติธรรมและขัดตํอหลัก
                   ความเสมอภาค แตํบางครั้งการปฏิบัติที่แตกตํางกันออกไปยังไมํถือเป็นการเลือกที่รักมักที่ชัง บทบัญญัติใน

                   วรรคสามมุํงเน๎นกับกรณี การเลือกที่รักมักที่ชัง เชํน ในกรณีที่กองทัพไทยไมํรับผู๎หญิงเป็นทหารเรือ เพราะ

                   มองวํา รํางกายผู๎หญิงไมํเหมาะสมกับงานของทหารเรือ ซึ่งถือเป็นการเลือกปฏิบัติ แตํไมํเป็นการเลือกที่รัก
                                                         116
                   มักที่ชัง เพราะมีเหตุผลเรื่องกายภาพมารองรับ

                           หากพิจารณาจากตัวบทและลําดับการวางหลักของรัฐธรรมนูญจะเห็นได๎วํา รัฐธรรมนูญมุํงเน๎นหลัก
                   ความเสมอภาค (Equality)  เป็นสําคัญ ซึ่งสะท๎อนจากหลักของมาตรา 30 วรรคแรก สําหรับการเลือก

                   ปฏิบัตินั้นจัดเป็นสิ่งที่ขัดตํอหลักความเสมอภาค อยํางไรก็ตาม ตัวบทก็มิได๎ระบุความหมายของการเลือก
                   ปฏิบัติไว๎ รวมทั้งมิได๎เริ่มต๎นจากการวางหลักห๎าม “การเลือกปฏิบัติ” แตํเริ่มวางหลักเกี่ยวกับการเลือก
                   ปฏิบัติจากการกําหนดห๎าม “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม” โดยอธิบายวํา การกระทําอยํางไรจึงเป็นการ

                   เลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมอันเป็นสิ่งต๎องห๎ามตามรัฐธรรมนูญ และตํอมาในวรรคท๎ายจึงเป็นการอธิบายขยาย
                   ความเพิ่มเติมวํามาตรการของรัฐที่เข๎าเงื่อนไขบางประการจะไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
                   ดังนั้นมาตรการยืนยันสิทธิเชิงบวก (Affirmative  Action)  เชํนการกําหนดให๎สิทธิพิเศษบางประการแกํ
                   บุคคลกลุํมเสี่ยงตํอเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน การให๎โควตาการศึกษาสําหรับชนกลุํมน๎อย ดังนี้ไมํถือเป็น

                   “การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม” เพราะเป็นมาตรการที่สํงเสริมให๎เกิดความเสมอภาค เนื่องจากให๎โอกาสแกํ
                   บุคคลกลุํมเปราะบางที่มักเสียเปรียบให๎มีโอกาสเทําเทียมกันบุคคลกลุํมอื่นๆในสังคม






                   116
                      เรื่องเดิม, หน๎า 165-166.
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251