Page 244 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 244
220
หากมีเหตุผลอันสมควรที่ต๎องนํามาชั่งน้ําหนักด๎วยดังเชํนกรณีของแคนาดาดังกลําวนั้นการสวมหมวก
เกี่ยวข๎องกับความปลอดภัย แตํหากเป็นกรณีที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเชํนการแตํงกายทํางานหรือการเรียน
นั้น ยังไมํเกี่ยวข๎องกับเหตุอันมีน้ําหนักเพียงพอ
4.3 วิเคราะห์หลักการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม (Unfair Discrimination)
ในความหมายทั่วไป มักมีการพิจารณาวํา การเลือกปฏิบัติที่เป็นธรรม คือการเลือกปฏิบัติโดยมี
เหตุผลที่ชอบธรรมหรือเหตุอันชอบด๎วยกฎหมาย สําหรับการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมนั้น มีลักษณะตรงกัน
ข๎ามกลําวคือไมํมีเหตุผลที่ชอบธรรมรองรับ แนวคิดและความหมายดังนี้จะสํงผลเป็นการจําแนกความ
แตกตํางระหวําง “การเลือกปฏิบัติ (ที่เป็นธรรม)” ที่ไมํต๎องห๎ามและสามารถปฏิบัติแตกตํางกันได๎ กับ “การ
เลือกปฏิบัติ (ที่ไมํเป็นธรรม)” อันต๎องห๎ามตามกฎหมาย ในสํวนนี้จะได๎ศึกษาวิเคราะห์ถึงการกําหนดหลัก
กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติโดยใช๎ปัจจัยด๎านเหตุผลของมาตรการหรือการกระทํา มาทําการจําแนก
การเลือกปฏิบัติออกเป็น 2 ประเภทดังกลําว
4.3.1 วิเคราะห์หลักการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม (Unfair Discrimination) ตามกฎหมาย
ไทย
ในระบบกฎหมายไทยอาจพิจารณาหลักการตามรัฐธรรมนูญแล๎วพบวําสะท๎อนถึงการจําแนกความ
แตกตํางระหวําง การเลือกปฏิบัติ และการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม ดังจะได๎พิจารณาตํอไป
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 บัญญัติเกี่ยวกับความเสมอภาค และ ห๎าม
เลือกปฏิบัติ ไว๎ใน 3 มาตรา ดังนี้
มาตรา 5
“ประชาชนชาวไทยไม่ว่าเหล่าก าเนิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อมอยู่ใน ความคุ้มครองแห่งรัฐธรรมนูญ
นี้เสมอกัน”