Page 243 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 243

219


                   ดังกลําวสํงผลเป็นการสร๎างหลักการเชิงเหมารวม (Stereotype)  วําผู๎เลํนกีฬากอล์ฟจะต๎องเป็นผู๎มีฐานะดี
                   อันอาจมองวําเป็นการกีดกันการเข๎าถึงกีฬากอล์ฟของผู๎มีรายได๎น๎อยซึ่งประสงค์จะเลํนกีฬาดังกลําว ดังนั้น

                   ประกาศนี้อาจเป็นการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมบนพื้นฐานของเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติด๎านฐานะเศรษฐกิจหาก
                   พิจารณาในแงํผลกระทบที่เกิดขึ้น


                           หากพิจารณาจากคําร๎องตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ พบวํา มีหลายกรณีที่เกี่ยวข๎อง
                   กับ การเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม เชํน


                           - การที่บริษัทเอกชนมีนโยบายให๎ตรวจหาเชื้อเอชไอวีสําหรับพนักงานที่ผํานการสัมภาษณ์กํอนเริ่ม
                   ปฏิบัติงานทุกคน บริษัทอ๎างวํานโยบายดังกลําวใช๎บังคับกับผู๎สมัครงานทุกคนโดยไมํเลือกปฏิบัติ  (คําร๎องที่
                   544/2552  และ35/2557 และรายงานผลการพิจารณาที่ 308-309/2558)  กรณีนี้จะเห็นได๎วํา ไมํเป็นการ
                   เลือกปฏิบัติโดยตรง เนื่องจากมาตรการหรือนโยบายมีลักษณะเป็นกลาง (Neutral) ใช๎กับทุกคนเหมือนกัน

                   แตํหากพิจารณาตามหลักของการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมแล๎ว เห็นได๎วํา สํงผล (Effect) ให๎บุคคลบางกลุํมที่มี
                   ลักษณะเปราะบางและเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ ได๎รับผลกระทบและเกิดความไมํเทําเทียมกัน
                   บุคคลอื่น


                           - การกฎระเบียบในการแตํงกายซึ่งกําหนดเงื่อนไขหรือเครื่องแบบสําหรับทุกคนเหมือนกัน แตํ
                   สํงผลให๎บุคคลที่นับถือศาสนาบางศาสนาที่ต๎องแตํงกายตามหลักศาสนาของตนได๎รับผลกระทบ (กรณีการ

                   แตํงกายของผู๎นับถือศาสนาอิสลามในบริบทของการทํางาน การศึกษา มีกรณีดังเชํน คําร๎องที่ 124/2554
                   กรณีการแตํงกายของผู๎นับถือศาสนาอิสลามในบริบทของการเข๎ารับปริญญามีกรณีดังเชํน คําร๎องที่
                   567/2553) กรณีเหลํานี้จะเห็นได๎วํา ไมํเป็นการเลือกปฏิบัติโดยตรง เนื่องจากมาตรการหรือนโยบายมี
                   ลักษณะเป็นกลาง (Neutral) ใช๎กับทุกคนเหมือนกัน แตํหากพิจารณาตามหลักของการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม
                   แล๎ว เห็นได๎วํา สํงผล (Effect)  ตํอบุคคลบางกลุํมซึ่งเกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติคือ “ศาสนา”

                   อยํางไรก็ตามกรณีเครื่องแตํงกายตามศาสนานี้ เป็นกรณีที่ กระทบต่อสิทธิมนุษยชนอีกประการหนึ่งคือ
                   “เสรีภาพในการแสดงออกซึ่งความเชื่อ ศาสนา” ซึ่งได๎รับการรับรองจากกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวําง
                   ประเทศเชํนกัน หากเปรียบเทียบกับกรณีของตํางประเทศ ผู๎ร๎องถูกเลิกจ๎างเพราะไมํปฏิบัติตามกฎเกณฑ์

                   ด๎านความปลอดภัยในการทํางานที่รัฐบาลแคนาดากําหนดขึ้นโดยไมํยอมสวมหมวกนิรภัยขณะปฏิบัติงาน
                   โดยผู๎ร๎องต๎องโพกผ๎าคลุมศีรษะ ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเชื่อทางศาสนาอันได๎รับการคุ๎มครองตาม
                   มาตรา 18 ของ ICCPR คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงสหประชาชาติเห็นวํา กฎเกณฑ์เพื่อความปลอดภัย
                   นี้สํงผลให๎เกิดการเลือกปฏิบัติในทางพฤตินัย (Discrimination de facto) ตํอผู๎นับถือศาสนา Sikh แตํเห็น

                   วํากฎเกณฑ์ดังกลําวมีเหตุผลอันสมควรและมุํงตํอวัตถุประสงค์ที่ชอบด๎วยกฎหมาย ตามเงื่อนไขของมาตรา
                      113
                   18  ดังนี้จะเห็นได๎วํา การกําหนดกฎเกณฑ์ นโยบาย มาตรการที่มีลักษณะเป็นกลางหรือใช๎บังคับกับ
                   บุคคลทุกคนเหมือนกัน แตํสํงผลกระทบตํอความเชื่อทางศาสนาของบุคคลบางกลุํม เป็นการเลือกปฏิบัติ
                   ทางอ๎อมหรือที่เรียกวํา การเลือกปฏิบัติโดยพฤตินัย อยํางไรก็ตาม การกระทําดังกลําวอาจไมํขัดตํอกฎหมาย




                   113
                      Singh Bhinder v. Canada, Communication No. 208/1986.
   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248