Page 232 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 232

208


                   กับทุกคน แตํสํงผลกระทบตํอบุคคลบางกลุํมด๎วยเหตุแหํงการแสดงออกซึ่งความเชื่อทางศาสนาผํานการสวม
                   ผ๎าคลุมศีรษะ มาตรการดังกลําวจึงถือได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติทางอ๎อมหรือที่ HRC เรียกวําการเลือกปฏิบัติ

                   โดยพฤตินัย ดังนั้นอาจกลําวได๎วํา การเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมได๎รับการตีความวําอยูํในขอบเขตของหลักการ
                   ห๎ามเลือกปฏิบัติตามสนธิสัญญาระหวํางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน




                           4.2.2 การเลือกปฏิบัติโดยอ้อมในบริบทของสนสัญญาสิทธิมนุษยชนของยุโรป


                           ในบริบทของสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนยุโรป (ECHR)  นั้น การพิจารณาของ ECtHR  ในคดี
                                                                           92
                   Abdulaziz Cabales and Balkandali v. The United Kingdom  ชี้ให๎เห็นวํา ECHR ไมํครอบคลุมการ
                   เลือกปฏิบัติโดยอ๎อม เพราะตัดสินวําผู๎ร๎องไมํสามารถแสดงให๎เห็นวํากฎการเข๎าเมืองซึ่งสํงผล (Effect)  ให๎
                   เกิดการจํากัดการเข๎าเมืองของบุคคลจากบางภูมิภาคนั้นเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติ สําหรับ
                                                             93
                   คดี Hugh  Jordan  v.  The  United  Kingdom   นั้น ECtHR  ตัดสินวําการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมอยูํใน
                   ขอบเขตของ ECHR  โดยอธิบายวํา “เมื่อนโยบายหรือมาตรการที่มีเนื้อหาเป็นการทั่วไป แตํสํงผลกระทบ

                   อยํางไมํได๎สัดสํวนตํอบุคคลบางกลุํม นโยบายหรือมาตรการนั้นอาจเป็นการเลือกปฏิบัติได๎แม๎วําไมํมุํงเจาะจง
                   ตํอบุคคลกลุํมนั้นก็ตาม”  ในคดีนี้ผู๎ร๎องอ๎างข๎อเท็จจริงวําคนสํวนใหญํที่ถูกฆําโดยกองกําลังของสหราช
                   อาณาจักรนั้นเป็นสมาชิกของกลุํมศาสนา แสดงวําเป็นการเลือกปฏิบัติโดยใช๎กําลังและขาดการเข๎าถึงการ
                                                                                       94
                   เยียวยาทางกฎหมายสําหรับคนบางกลุํมในสังคม ในคดี Zarb Adami v. Malta   วางหลักสําคัญวํา การ
                   เลือกปฏิบัติที่ขัดตํอสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนยุโรปนั้นไมํจําต๎องเกิดจากตัวมาตรการหรือตัวกฎหมายเทํานั้น
                   แตํยังอาจเกิดจากสถานการณ์ตามความเป็นจริงหรือโดยพฤตินัย (De  Facto)  ดังนั้น เมื่อกฎหมายที่
                   เกี่ยวข๎องไมํได๎จําแนกความแตกตํางด๎วยเหตุแหํงเพศ แตํข๎อมูลสถิติพิสูจน์วําเกิดความได๎เปรียบเสียเปรียบ
                   เพราะเหตุแหํงเพศ (ลูกขุนที่เป็นชายมีจํานวนมากกวําหญิง) จึงเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางชายและ

                   หญิงซึ่งขัดแย๎งกับมาตรา 14 และมาตรา 4 (3) (d)

                           การดําเนินคดีเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายสหภาพยุโรปที่มีประเด็นเกี่ยวกับการกระทํา
                                                                                          95
                   ของเจ๎าหน๎าที่รัฐอันกระทบตํอสิทธิพลเมือง เชํน สิทธิในชีวิต ของกลุํมเชื้อชาติบางกลุํม  ในหลายคดี ผู๎ร๎อง
                   ไมํสามารถพิสูจน์ถึงวําการกระทําที่กลําวอ๎างนั้นมีเจตนาโดยตรงในการเลือกปฏิบัติ (Intent  to  Directly
                                 96
                   Discrimination)  อยํางไรก็ตาม ในคดี Nachova and Others v. Bulgaria มีการวางแนววินิจฉัยวําหาก
                   มีข๎อเท็จจริงแสดงถึงมูลเหตุจูงใจของการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติแล๎ว ภาระพิสูจน์จะตกแกํรัฐที่
                   จะต๎องแสดงให๎เห็นวําการกระทํานั้นไมํมีแรงจูงใจหรือมูลเหตุที่เกี่ยวกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ ข๎อเท็จจริง



                   92
                      Abdulaziz, Cabales, and Balkandali v. UK (Application nos. 9214/80; 9473/81; 9474/81)
                   93  Hugh Jordan v. United Kingdom (Application no. 24746/94)
                   94  Zarb Adami v. Malta , 44 EHRR 3, IHRL 3192 (ECHR 2006)
                   95  Right to life ในมาตรา 2 ประกอบกับมาตรา 14 ของ ECHR
                   96
                      Anguelova v. Bulgaria, Velikova v. Bulgaria
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237