Page 227 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 227

203


                   ไทยหนึ่งปี เมื่อจํานวนปีการศึกษาของประเทศอินเดียน๎อยกวําประเทศไทย ยํอมทําให๎เนื้อหาของหลักสูตร
                   และการประเมินความรู๎แตกตํางกันด๎วย  ผู๎ถูกฟูองคดี  จึงกําหนดอัตราเงินเดือนของผู๎ที่จบการศึกษาระดับ

                   ปริญญาโทจากประเทศอินเดียไว๎ต่ํากวําผู๎ที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทจากประเทศไทย  1  ขั้น  ซึ่ง
                   หลักเกณฑ์การพิจารณาคุณวุฒิที่ผู๎ถูกฟูองคดีที่ 1 กําหนดนี้ มิได๎ใช๎เฉพาะแตํในประเทศอินเดียเทํานั้น แตํยัง
                   ใช๎กับประเทศอื่นๆ ที่มีระยะเวลาการศึกษาตามที่หลักสูตรกําหนดน๎อยกวําประเทศไทยด๎วย เชํน ประเทศ
                   ฟิลิปปินส์ เป็นต๎น (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.299/2551)


                           ดังนั้นจะเห็นได๎วํา การพิจารณาวําการปฏิบัติที่แตกตํางกัน จะเป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํนั้น ต๎อง
                   นําปัจจัยตํางๆในรายละเอียดของการปฏิบัตินั้นมาพิจารณาด๎วย


                           นอกจากการเปรียบเทียบระหวํางบุคคลคนหนึ่งกับบุคคลอีกคนหนึ่งที่ได๎รับการปฏิบัติแตกตํางกัน
                   ภายใต๎เงื่อนไขที่วําบุคคลทั้งสอง “เหมือนกัน” แล๎ว ยังพบวําศาลได๎เปรียบเทียบข๎อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่

                   “เหมือนกัน” ซึ่งเกี่ยวข๎องกับบุคคลคนเดียวกันด๎วย เชํน ศาลปกครองเปรียบเทียบการปฏิบัติในการจัดซื้อ
                   จัดจ๎างที่ผู๎ถูกฟูองเคยปฏิบัติตํอผู๎ฟูองคดีในการประกวดราคาครั้งกํอนๆกับครั้งที่พิพาท และเห็นวํา ในการ
                   ประกวดราคาครั้งที่พิพาทนี้ไมํปรากฏวํามีข๎อเท็จจริงที่ตํางกัน (เป็นกรณีข๎อเท็จจริงที่เหมือนกัน แตํเกิดการ
                   ปฏิบัติแตกตํางกัน) จึงตัดสินวําผู๎ถูกฟูองคดีเลือกปฏิบัติ (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.154/2547)


                            ในบางคดีที่มีประเด็นการกําหนดเงินคําทดแทนที่ดินแกํผู๎ถูกเวนคืนแตกตํางกัน ปัจจัยที่นํามา

                   เปรียบเทียบคือ ที่ดินที่อยูํติดซอยสํวนบุคคลเชํนเดียวกันและมีสภาพที่ดินคล๎ายกับที่ดินของผู๎ฟูองคดี  ซึ่ง
                   คณะกรรมการกําหนดคําทดแทนมากกวําที่ดินของผู๎ฟูองคดี ศาลปกครองให๎ผู๎ถูกฟูองคดี  วินิจฉัยอุทธรณ์
                   ของผู๎ฟูองคดีใหมํในราคาที่เป็นธรรมใกล๎เคียงกับที่ดินที่อยูํในบริเวณเดียวกัน (คําพิพากษาศาลปกครอง
                   กลางที่ 1272/2545)


                           ในกรณีที่สาระสําคัญของเรื่องนั้นๆมีความแตกตํางกัน ก็อาจมีการปฏิบัติที่แตกตํางกันได๎ เชํน ผู๎
                   ฟูองคดีเข๎าครอบครองที่ดินในพื้นที่เขตชลประทานโดยไมํมีสิทธิตามกฎหมาย กรณีจึงไมํอาจเปรียบเทียบกับ
                   บุคคลผู๎มีสิทธิดังกลําวซึ่งกฎหมายรับรองได๎การที่ได๎รับการปฏิบัติจากทางราชการจึงยํอมแตกตํางกัน กรณี

                   จึงไมํขัดตํอรัฐธรรมนูญ  ดังนั้นการที่ผู๎ถูกฟูองคดีทั้งสองไมํพิจารณาจํายคําทดแทนต๎นไม๎และบํอน้ําให๎แกํผู๎
                   ฟูองคดี  จึงชอบด๎วยกฎหมายแล๎ว (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่  อ.497/2551)  ในทางกลับกัน หาก
                   สาระสําคัญของเรื่องนั้นๆเหมือนกัน การปฏิบัติที่แตกตํางกันจะขัดตํอหลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญ

                   เชํน สาระสําคัญของกรณีนี้คือ ผู๎ครอบครองที่ดินทั้ง 54 รายซึ่งถูกเวนคืนที่ดิน ดังนั้นการแบํงกลุํมบุคคล
                   ดังกลําวออกเป็นสองกลุํมและวางหลักเกณฑ์ให๎คําทดแทนแตกตํางกันจึงเป็นการปฏิบัติตํอสาระสําคัญที่
                   เหมือนกัน ให๎เกิดความแตกตํางกัน จึงขัดกับหลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย
                   พุทธศักราช 2540 (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.22/2551)


                           โดยสรุปแล๎วพบวํา แนวการพิจารณาความเสมอภาคหรือความเทําเทียมกันก็คือ การปฏิบัติ
                   เหมือนกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญเชํนเดียวกัน และ การปฏิบัติที่แตกตํางกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญแตกตํางกัน

                   ดังนั้น หากมีการปฏิบัติตํางกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญเชํนเดียวกัน หรือ การปฏิบัติเหมือนกันตํอสิ่งที่มี
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232