Page 229 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 229

205


                           4.2.1 การเลือกปฏิบัติโดยอ้อมในบริบทของอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ


                           เมื่อพิจารณาตาม ICCPR  มาตรา 2 และ 26 ประกอบกับความเห็นทั่วไปของ HRC  (General
                   comment No. 18) จะเห็นได๎วําหลักการเลือกปฏิบัตินั้นครอบคลุมทั้งการเลือกปฏิบัติโดยตรงและโดยอ๎อม
                   สําหรับสนธิสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนอื่นเชํน ICERD  และ CEDAW  นั้นก็สะท๎อนหลักการเลือกปฏิบัติ

                   โดยอ๎อมเชํนกัน

                                                                         85
                           ข๎อแนะนําของ CERD General Recommendation 14  อธิบายความหมายของการเลือกปฏิบัติ
                   ไว๎วํา “การปฏิบัติที่แตกตํางกัน (differentiation  of  treatment) จะไมํกํอให๎เกิดการเลือกปฏิบัติ
                   (Discrimination)  หากพิจารณาการปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์และจุดมุํงหมาย
                   ของสนธิสัญญาแล๎วมีความชอบธรรมหรือตกอยูํในขอบเขตมาตรา 1 ยํอหน๎า 4 ของสนธิสัญญานี้ ในการ
                   พิจารณานั้น คณะกรรมการยอมรับวําการกระทําใดการกระทําหนึ่งอาจมีวัตถุประสงค์หลากหลาย ดังนั้น

                   ในการวินิจฉัยวําการปฏิบัติอันหนึ่งสํงผลขัดแย๎งตํอหลักการตามสนธิสัญญาหรือไมํนั้น คณะกรรมการจะ
                   พิจารณาวําการกระทํานั้นกํอให๎เกิดผลกระทบอันไมํสามารถอ๎างเหตุที่ชอบธรรม (Unjustifiable
                   desperate impact) ตํอบุคคลที่ถูกจําแนกความแตกตํางด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติ สีผิว บรรพบุรุษ สัญชาติ ถิ่น
                   กําเนิด”  กลําวคือ การปฏิบัติที่แตกตํางกัน (Distinction)  อันขัดแย๎งตํอสนธิสัญญานี้เกิดมีขึ้น “หากมี

                   วัตถุประสงค์หรือผลประทบ (purpose or effect) ให๎เสียสิทธิหรือเสรีภาพบางประการ ดังนั้นรัฐสมาชิกมี
                   พันธกรณีในอันที่จะต๎องยกเลิกกฎหมายหรือการปฏิบัติใดๆอันสํงผลกระทบตํอการทําให๎เกิดการเลือก
                   ปฏิบัติด๎านเชื้อชาติ โดยในการพิจารณาถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นจะต๎องพิจารณาวํามีผลกระทบที่ไมํเป็น
                                                       86
                   ธรรมหรือปราศจากเหตุอันสมควรหรือไมํ”  จะเห็นได๎วําแม๎ความเห็นทั่วไปนี้มิได๎กลําวโดยชัดเจนถึงการ
                   เลือกปฏิบัติโดยอ๎อม (Indirect  Discrimination)  แตํจากที่อธิบายวํา “การกระทํานั้นกํอให๎เกิดผลกระทบ
                   อันไมํสามารถอ๎างเหตุที่ชอบธรรม (Unjustifiable  desperate  impact)”  สะท๎อนให๎เห็นปัจจัยการ
                   พิจารณาในแงํ “ผลกระทบ” (Effect) ซึ่งเป็นลักษณะสําคัญของการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม ดังนั้นจะเห็นได๎วํา

                   การเลือกปฏิบัตินั้นอาจเกิดมีได๎บนพื้นฐานของการสร๎างผลกระทบในทางลบให๎เกิดขึ้นจากกฎเกณฑ์ที่
                   โดยทั่วไปแล๎วใช๎กับบุคคลทุกกลุํมแตํสํงผลกระทบตํอบุคคลบางกลุํมด๎วยเหตุเชื้อชาติ ในคดี L. R. et al. v.
                            87
                   Slovakia  คณะกรรมการอธิบายวํา ตามความหมายของการเลือกปฏิบัติด๎านเชื้อชาตินั้นมีขอบเขตกว๎าง
                   กวํามาตรการที่มีลักษณะเลือกปฏิบัติอยํางชัดแจ๎ง (Explicitly discrimination) แตํครอบคลุมมาตรการซึ่ง
                   มิได๎เลือกปฏิบัติโดยสภาพภายนอกแตํสํงผลของการเลือกปฏิบัติในทางปฏิบัติและในเชิงผลกระทบ

                   (discriminatory in fact and in effect) ซึ่งเป็นการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม”










                   85  CERD General Recommendation 14 (Art. 2, para. 1: Definition of discrimination)
                   86  Ibid.
                   87
                      L. R. et al. v. Slovakia, Communication No. 31/2003, U.N. Doc. CERD/C/66/D/31/2003 (2005).
   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234