Page 226 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 226

202


                            “… โดยที่ระบบการศึกษาของสถาบันการศึกษาของรัฐหรือเอกชนในประเทศไทย  ไมํได๎มีการ
                   จัดแยกหลักสูตรระหวํางหลักสูตรปริญญาตรีเกียรตินิยมกับหลักสูตรปริญญาตรีธรรมดา กลําวคือ ผู๎ที่สําเร็จ

                   การศึกษาปริญญาตรีเกียรตินิยมหรือสําเร็จการศึกษาปริญญาตรีแตํไมํได๎รับเกียรตินิยมจะต๎องผําน
                   การศึกษาในวิชาการตํางๆ  ที่สถาบันการศึกษากําหนด และผํานการทดสอบและรับรองวําได๎สําเร็จ
                   การศึกษาเลําเรียนมาครบถ๎วนตามหลักสูตรที่กําหนดไว๎ และจะต๎องได๎รับคะแนนไมํต่ํากวํามาตรฐานที่
                   สถาบันการศึกษานั้นๆ  กําหนดเหมือนๆ  กัน เพียงแตํผู๎ที่มีคะแนนสูงในระดับหนึ่งและผํานเงื่อนไขที่

                   สถาบันการศึกษาแตํละแหํงกําหนด เชํน ไมํเคยสอบตกในวิชาใดวิชาหนึ่ง เป็นต๎น ก็จะได๎รับการยกยํองด๎วย
                   การให๎เกียรตินิยมแตํยังคงถือวําบุคคลดังกลําวมีความรู๎หรือมีวุฒิในสาขาวิชาการที่สําเร็จมาเชํนเดียวกับ
                   บุคคลที่ไมํได๎รับเกียรตินิยม  จึงถือวําผู๎ที่สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีสาขาใดก็ยํอมมีศักดิ์ และสิทธิ
                   เสมอกัน  ไมํวําจะได๎รับปริญญาเกียรตินิยมหรือไมํได๎รับเกียรตินิยมก็ตาม  ทั้งบุคคลที่ไมํได๎รับเกียรตินิยมก็

                   สามารถปฏิบัติหน๎าที่ราชการได๎เชํนเดียวกับผู๎ได๎รับเกียรตินิยม …. ดังนั้น มติของผู๎ถูกฟูองคดีที่กําหนดให๎ผู๎
                   ได๎รับปริญญาตรีเกียรตินิยมโดยถือวําเป็นวุฒิที่ใช๎ในการคัดเลือก จึงเป็นการให๎สิทธิเหนือกวําหรือดีกวําผู๎ที่
                   ได๎รับปริญญาตรีในสาขาเดียวกันแตํไมํได๎รับเกียรตินิยม ทั้งๆ ที่ได๎รับวุฒิอยํางเดียวกัน ซึ่งมีศักดิ์และสิทธิที่
                   สถาบันการศึกษารับรองเชํนเดียวกัน  มติดังกลําวจึงเป็นการปฏิบัติตํอบุคคลที่มีสถานะทางกฎหมายที่

                   เหมือนกันให๎แตกตํางกัน  ยํอมถือได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”  (คําพิพากษาศาลปกครอง
                   สูงสุดที่ อ.158/2550) เชํนเดียวกับ คําพิพากษาที่ตัดสินวํา “การกําหนดให๎ผู๎ได๎รับปริญญาตรีเกียรตินิยมทุก
                   สาขาถือเป็นเหตุพิเศษที่จะให๎ได๎รับสิทธิคัดเลือกแทนการสอบแขํงขันนั้น เห็นวํา เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํ

                   เป็นธรรม” (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.379/2550)

                           จากแนวคําพิพากษาคดีดังกลําว เมื่อนํามาพิจารณากรณีข๎อเท็จจริงที่มีปัญหาวํา การรับสมัครงาน

                   โดยรับเฉพาะผู๎จบการศึกษาจากสถาบันการศึกษาบางแหํงเทํานั้นเป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํ ทั้งนี้เพราะ
                   จากกรณีดังกลําว ผู๎จบการศึกษาจากสถาบันการศึกษาอื่นในสาขาและคุณวุฒิที่เหมือนกันไมํสามารถสมัคร
                   ได๎ หากเทียบเคียงกับคําพิพากษาข๎างต๎นจะเห็นได๎วํา กรณีเชํนนี้ก็เป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกันตํอบุคคลที่
                   “เหมือนกัน” เนื่องจากมีคุณวุฒิเชํนเดียวกันไมํวําจะจบการศึกษาจากสถาบันใด


                           การเปรียบเทียบผู๎ถูกเลือกปฏิบัติจะต๎องพิจารณาความแตกตํางในรายละเอียดด๎วย เชํน การปฏิบัติ
                   ตํอผู๎ที่จบการศึกษาจากประเทศหนึ่งในลักษณะด๎อยกวําอีกประเทศหนึ่ง โดยทั่วไปแล๎วเป็นการปฏิบัติที่
                   แตกตํางกัน แตํหากการปฏิบัติที่แตกตํางดังกลําวนั้นมิได๎เกิดจากเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ โดยข๎อเท็จจริง

                   แสดงวํามีเหตุหรือปัจจัยอื่นเข๎ามาประกอบทําให๎เกิดความแตกตําง กรณีนั้นก็จะไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ เชํน
                   คดีที่มีประเด็นเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์ในการรับรองคุณวุฒิกําหนดเงินเดือนและระดับให๎แกํผู๎มีคุณวุฒิจาก
                   ตํางประเทศ  สํงผลให๎ผู๎จบการศึกษาจากประเทศอินเดียได๎รับอัตราเงินเดือนต่ํากวําผู๎จบการศึกษาด๎วย

                   คุณวุฒิเดียวกันจากประเทศอื่น กรณีนี้อาจเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุเชื้อชาติ ถิ่นกําเนิด ฯลฯ อยํางไรก็
                   ตาม มีข๎อเท็จจริงเพิ่มเติมวํา หลักเกณฑ์ดังกลําวมิได๎มุํงใช๎กับผู๎จบการศึกษาจากประเทศใดโดยเฉพาะ แตํ
                   เป็นการวางหลักเกณฑ์จากระยะเวลาการศึกษา กลําวคือไมํวําผู๎จบการศึกษานั้นจะจบจากประเทศใด ก็อยูํ
                   ภายใต๎หลักเกณฑ์ที่พิจารณาจากระยะเวลาด๎วยกันทั้งสิ้น คดีนี้ ศาลเห็นวํา ผู๎ฟูองคดีสําเร็จการศึกษาระดับ

                   ปริญญาโทในประเทศอินเดีย  ซึ่งใช๎เวลาในการศึกษาน๎อยกวําผู๎ที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทในประเทศ
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231