Page 225 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 225
201
เลือกตั้ง โดยไมํเป็นธรรมและไมํมีเหตุผลอันอาจรับฟังได๎ อันขัดตํอหลักความเสมอภาค ตามรัฐธรรมนูญแหํง
ราชอาณาจักรไทย”
ในบางคดี มีประเด็นการพิจารณาแตํงตั้งเจ๎าหน๎าที่จากบุคคลที่อยูํในกลุํมแตกตํางกัน ศาลพิจารณา
วํา การแบํงกลุํมผู๎ถูกประเมินให๎อยูํตํางกลุํมกันนั้น หากมีการประเมินโดยใช๎เกณฑ์เดียวกัน ก็ไมํถือเป็นการ
เลือกปฏิบัติ ดังจะเห็นได๎จากคดีที่ ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวํา ในการประเมินแม๎มีการจัดแบํงข๎าราชการ
ออกเป็น 2 กลุํม ก็ตาม แตํก็ใช๎หลักเกณฑ์เดียวกันและพิจารณาครบถ๎วนตามหลักเกณฑ์ทุกด๎าน ซึ่งการ
เปรียบเทียบวัดคําคะแนนแยกกลุํมกันระหวํางข๎าราชการระดับ 8 กับระดับ 7 ยํอมเป็นธรรมกับข๎าราชการ
ในแตํละกลุํมแล๎ว ดังนั้น จึงเห็นวําการประเมินผลการปฏิบัติงานในการพิจารณาแตํงตั้งครั้งนี้ไมํเป็นการ
เลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมตํอผู๎ฟูองคดีแตํอยํางใด (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ.134/2548) จะเห็น
ได๎วํา กรณีนี้เป็นการประเมินบุคคลที่จัดอยูํในสองกลุํมอันแตกตํางกัน เพื่อดํารงตําแหนํงเดียวกัน โดยใช๎
เกณฑ์เหมือนกัน จึงไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ อยํางไรก็ตาม หากมีการประเมินบุคคลสองกลุํมที่แตกตํางกัน
โดยใช๎เกณฑ์ที่แตกตํางกัน เพื่อนํามาสูํการพิจารณาแตํงตั้งในตําแหนํงเดียวกัน อาจเป็นการเลือกปฏิบัติได๎
ในกรณีการยื่นคําขอดํารงตําแหนํงหนึ่ง ซึ่งคณะกรรมการมีมติให๎ผู๎ขอดํารงตําแหนํงบางรายต๎องทํา
การบางอยําง ในขณะที่ผู๎ขอดํารงตําแหนํงเดียวกันรายอื่นไมํต๎องทํานั้น ศาลเปรียบเทียบผู๎ขอดํารงตําแหนํง
รายอื่นเปรียบเทียบกันแล๎วเห็นวําผู๎ฟูองได๎รับการปฏิบัติที่แตกตํางในสาระสําคัญ ดังจะเห็นได๎จากคดีที่ศาล
ตัดสินวํา “การที่ผู๎ถูกฟูองคดีมีมติเห็นชอบให๎ผู๎ยื่นคําขอรายอื่นซึ่งดํารงตําแหนํงในลักษณะเดียวกันกับผู๎ฟูอง
คดีที่ยื่นคําขอในลําดับกํอนและหลังผู๎ฟูองคดี โดยมิได๎ให๎บุคคลดังกลําวจัดทําวิสัยทัศน์ประกอบการพิจารณา
แตํอยํางใด กรณีจึงเห็นได๎วํา ผู๎ถูกฟูองคดีได๎ปฏิบัติตํอบุคคลประเภทเดียวกันให๎แตกตํางกันในสาระสําคัญ
อันเป็นการเลือกปฏิบัติ” (คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.41/2552)
สําหรับประเด็นปัญหาวํา บุคคลคนเดียวกันได๎รับการปฏิบัติที่แตกตํางกันจากกฎเกณฑ์หรือคําสั่ง
ทางปกครอง จะเป็นการเลือกปฏิบัติหรือไมํนั้น ศาลพิจารณาคําสั่งแตํละกรณีวําอยูํภายใต๎เงื่อนไขและปัจจัย
ที่เหมือนกันหรือไมํ ดังตัวอยํางเชํน คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.61/2551 ศาลตัดสินวํา “การลงโทษ
ผู๎ฟูองคดีทั้งสองกรณีเกิดจากมูลเหตุตํางกัน การที่ผู๎ถูกฟูองคดี ได๎มีคําสั่งที่ 45/2545 ลงทัณฑ์กักขังจึงเป็น
คําสั่งไมํซ้ําซ๎อนกับคําสั่งกลําวตักเตือน ประกอบกับกรณีดังกลําวเป็นไปตามระดับทัณฑ์มาตรฐาน ซึ่ง
ผู๎บังคับบัญชาได๎กําหนดไว๎ ซึ่งผู๎ถูกฟูองคดีก็ได๎นําหลักเกณฑ์ดังกลําวลงทัณฑ์ข๎าราชการรายอื่นที่มีความ
บกพรํองในลักษณะเดียวกันนี้มาแล๎ว กรณีจึงไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม”
สําหรับกรณีการปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันด๎วยสาเหตุของวุฒิการศึกษานั้น มักจะเกิดขึ้นในมิติ
ของการจ๎างแรงงาน เชํน กรณีปัญหาวํา บุคคลที่จบการศึกษาปริญญาตรีโดยไมํได๎รับเกียรตินิยม กับ บุคคล
ที่จบการศึกษาปริญญาตรีเกียรตินิยมนั้น เป็นบุคคลที่ “เหมือนกัน” หรือไมํ หากพิจารณาวําเป็นบุคคลที่
เหมือนกัน ก็จะสํงผลตํอไปวํา กฎที่ให๎สิทธิแกํบุคคลทั้งสองแตกตํางกัน จะเป็นการเลือกปฏิบัติ แตํหาก
พิจารณาวําเป็นบุคคลที่แตกตํางกัน ก็อาจทําให๎เกิดการปฏิบัติที่แตกตํางกันได๎ ในประเด็นนี้ศาลได๎วินิจฉัยไว๎
วํา บุคคลทั้งสองกลุํมนั้น “เหมือนกัน” ดังนั้น กฎที่สํงผลให๎บุคคลทั้งสองกลุํมได๎รับการปฏิบัติแตกตํางกัน
จึงเป็นการเลือกปฏิบัติ ศาลได๎อธิบายไว๎วํา