Page 224 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 224

200


                           ดังนั้นจะเห็นได๎วํา แนวการพิจารณาความเสมอภาคหรือความเทําเทียมกันก็คือ การปฏิบัติ
                   เหมือนกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญเชํนเดียวกัน และ การปฏิบัติที่แตกตํางกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญแตกตํางกัน

                   ดังนั้น การเลือกปฏิบัติจะเกิดขึ้นเมื่อมีการปฏิบัติตํางกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญเหมือนกัน หรือ การปฏิบัติ
                   เหมือนกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญตํางกัน ด๎วยเหตุนี้ในการพิจารณาคดีจึงต๎องมีการเปรียบเทียบระหวําง
                   สาระสําคัญที่พิพาทนั้นวํา “เหมือนกัน” หรือไมํ


                           ศาลปกครองมีแนววินิจฉัยโดยใช๎วิธีการเปรียบเทียบผู๎ฟูองคดีที่อ๎างวําถูกเลือกปฏิบัติกับบุคคลอื่นที่
                   อยูํในสภาพหรือเงื่อนไข “เหมือนกัน” เชํน ผู๎ฟูองคดีอ๎างวําคําสั่งทางปกครองของผูถูกฟองคดีที่ไมํพิจารณา
                   เลื่อนยศให๎กับตนเป็นการเลือกปฏิบัติ โดยอ๎างวํากฎเกณฑ์ที่กําหนดสิทธิประโยชน์จากการออกจากราชการ

                   สํงผลให๎เกิดความแตกตํางกันระหวํางผู๎ฟูองคดีกับบุคคลอื่นที่อยูํในสถานะเดียวกัน อยํางไรก็ตาม ศาล
                   ปกครองเห็นวํา แม๎ผลสุดท๎ายจะเกิดความแตกตํางกันระหวํางผู๎ฟูองคดีกับบุคคลอื่น แตํเมื่อเปรียบเทียบ
                   แล๎วจะพบวํา ผู๎ฟูองคดีกับบุคคลอื่นนั้น ไมํอยูํในสถานะเดียวกันหรือไมํอาจเปรียบเทียบกันได๎ ทั้งนี้เนื่องจาก
                   เป็นการออกจากราชการด๎วยสาเหตุคนละอยําง ด๎วยอาศัยหลักกฎหมายคนละมาตรากัน ดังนั้นจึงไมํเป็น

                   การเลือกปฏิบัติ เพราะมิใชํเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางบุคคลที่เหมือนกัน (คําพิพากษาศาล
                   ปกครองสูงสุดที่ อ.185/2549) ดังนั้นจะเห็นได๎วํา กรณีนี้เกิดความแตกตํางกัน (Distinction)  แตํมิใชํเป็น
                   การเลือกปฏิบัติ (Discrimination)


                           แม๎วํากฎเกณฑ์ที่พิพาทจะสํงผลให๎เกิดการปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางข๎าราชการในตําแหนํงที่มีชื่อ
                   เรียกหรือสังกัดที่แตกตํางกัน แตํเมื่อพิจารณาสถานะของบุคคลที่นํามาเปรียบเทียบแล๎ว อาจเป็นกรณีที่ถือ
                                                                                                         84
                   ได๎วํามีลักษณะ “เหมือนกัน” ตัวอยํางเชํน คดีที่ศาลปกครองเปรียบเทียบการปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวําง

                           1. ผู๎ดํารงตําแหนํงรองผู๎อํานวยการ สถานศึกษา ผู๎ดํารงตําแหนํงผู๎อํานวยการสถานศึกษา ผู๎ดํารง

                   ตําแหนํงครูและครูผู๎ชํวย รวมทั้ง ผู๎ดํารงตําแหนํงในหนํวยงานสนับสนุน เชํน เจ๎าหน๎าที่บริหารงานทั่วไป

                   นักวิชาการพัสดุ เจ๎าหน๎าที่บันทึกข๎อมูลเป็นผู๎มีสิทธิเลือกตั้ง และมีสิทธิเข๎ารับการเลือกตั้งเป็นอนุกรรมการ
                   ผู๎แทนข๎าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ด๎วยคุณสมบัติด๎านตําแหนํง


                           2. ผู๎ดํารงตําแหนํงรองผู๎อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู๎ดํารงตําแหนํงผู๎ชํวยผู๎อํานวยการ
                   สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และผู๎ดํารงตําแหนํงเจ๎าหน๎าที่บริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นผู๎ที่ไมํมีสิทธิ

                   เลือกตั้ง และไมํมีสิทธิเข๎ารับการเลือกตั้งเป็นอนุกรรมการผู๎แทนข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใน
                   เขตพื้นที่การศึกษา


                           จากการเปรียบเทียบบุคคลทั้งสองกลุํมดังกลําว ศาลปกครองวินิจฉัยวํามีการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็น
                   ธรรม เนื่องจาก “กํอให๎เกิดความไมํเทําเทียมระหวํางผู๎มีสิทธิกับผู๎ไมํมีสิทธิในการเลือกตั้ง และเข๎ารับการ






                   84
                      คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ.17/2551
   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229