Page 223 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 223

199


                           4.1.6 การเลือกปฏิบัติโดยตรงตามกฎหมายไทย


                           รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยมิได๎จําแนกความแตกตํางระหวํางการเลือกปฏิบัติโดยตรงกับ
                   การเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม สําหรับกฎหมายเฉพาะฉบับตํางๆ ที่เกี่ยวข๎องก็มิได๎กําหนดไว๎ชัดเจนถึงการเลือก
                   ปฏิบัติโดยตรงกับการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม ดังนั้นจึงอาจกลําวได๎วําตามกฎหมายไทยไมํได๎มีการกําหนด

                   นิยามหรือคําอธิบายของการเลือกปฏิบัติโดยจําแนกประเภทการเลือกปฏิบัติดังเชํนที่ปรากฏในการตีความ
                   กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศและกฎหมายตํางประเทศบางประเทศดังที่ได๎กลําวมาแล๎ว สําหรับ
                   การเลือกปฏิบัติโดยตรงตามแนวคําพิพากษาอาจพิจารณาได๎ดังตํอไปนี้


                           หลักการเลือกปฏิบัติปรากฏจากคําพิพากษาศาลปกครอง ดังจะเห็นได๎จาก การวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับ
                   หลักความเสมอภาคหรือความเทําเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ คดีซึ่งมีประเด็นวํากฎเกณฑ์ที่รัฐออกมานั้นเป็น
                   การเลือกปฏิบัติหรือไมํ ศาลปกครองอธิบายถึงการเลือกปฏิบัติไว๎ใน คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ ฟ.8

                   – ฟ.10/2546 โดยอาจแยกเป็นสองกรณีคือ

                           - ออกหลักเกณฑ์ให๎มีผลปฏิบัติที่ไมํเสมอภาคแกํบุคคลที่เหมือนกันในสาระสําคัญอยํางเดียวกัน

                   กรณีนี้จัดวําเป็นการเลือกปฏิบัติ

                           - ออกหลักเกณฑ์ให๎มีผลปฏิบัติตํอบุคคลแตกตํางกันในสาระสําคัญที่แตกตํางกันออกไปตาม

                   ลักษณะเฉพาะของแตํละบุคคล กรณีนี้จัดวําเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกันตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญแตกตํางกันจึง
                   ไมํเป็นการเลือกปฏิบัติ


                           นอกจากนี้ คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ.18/2547 ก็ได๎วางหลักไว๎วํา

                           “มาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย บัญญัติให๎บุคคลยํอมเสมอกันในกฎหมายและ

                   ได๎รับความคุ๎มครองตามกฎหมายเทําเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเทําเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็น
                   ธรรมตํอบุคคลเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือ
                   สุขภาพ สถานะทางบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความ

                   คิดเห็นทางการเมืองอันขัดตํอบทบัญญัติแหํงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได๎ ซึ่งเป็นการวางหลักการให๎รัฐปฏิบัติ
                   ตํอบุคคลบนพื้นฐานความเสมอภาคเทําเทียมกัน ทั้งนี้ โดยไมํออกหลักเกณฑ์ให๎มีผลปฏิบัติที่แตกตํางกันตํอ
                   บุคคลที่เหมือนกันในสาระสําคัญอยํางเดียวกัน หรือไมํออกหลักเกณฑ์ให๎มีผลปฏิบัติอยํางเดียวกันตํอบุคคล
                   ที่แตกตํางกันในสาระสําคัญ”





                           ศาลปกครองยังได๎อธิบายหลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญไว๎ ในคําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด
                   ที่ อ.22/2551 มีใจความสําคัญวํา “หลักความเสมอภาคตามรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
                   2540 มีหลักวําจะต๎องปฏิบัติตํอสิ่งที่มีสาระสําคัญเหมือนกันอยํางเทําเทียมกัน และจะต๎องปฏิบัติตํอสิ่งที่มี

                   สาระสําคัญที่แตกตํางกันให๎แตกตํางกันไป
   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228