Page 219 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 219

195


                           สําหรับฝุายที่ถูกร๎องหรือภาครัฐนั้น ก็มีข๎อตํอสู๎วํา การปฏิบัติที่แตกตํางกันนั้นเป็นไปภายใต๎
                   สถานการณ์ที่มีเหตุผล การปฏิบัติที่แตกตํางอาจไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติตามมาตรา 14 หากมี

                   วัตถุประสงค์และเหตุผลที่ชอบธรรม และเป็นไปตามหลัก “Margin of Appreciation” (ซึ่งจะได๎วิเคราะห์
                   เป็นหัวข๎อตํางหากตํอไป)


                           คดีที่ตัดสินตามหลักของ ECHR นั้นมักเกี่ยวข๎องกับการพิจารณาวัตถุประสงค์และความสัมพันธ์อัน
                   สมเหตุผลระหวํางเปูาหมายและวิธีการ ของมาตรการที่พิพาทดังกลําวข๎างต๎นมากกวําพิจารณาผลกระทบ
                   จากการปฏิบัติที่แตกตํางตํอกลุํมที่มีความเสี่ยง เชํน กฎหมายที่ปฏิบัติตํอผู๎ชายในลักษณะที่พึงพอใจน๎อย
                   กวําผู๎หญิงนั้นเป็นการเลือกปฏิบัติ (Van Raalte v. the Netherlands) การกําหนดให๎แมํเป็นผู๎มีอํานาจ

                   ปกครองบุตรเพราะรสนิยมทางเพศของพํอนั้นเป็นการเลือกปฏิบัติ (Salgueiro  Da  Silva  Mouta  v.
                   Portugal)


                           ดังนั้นจะเห็นได๎วํา ในกรณีของการเลือกปฏิบัติโดยตรงนั้น กฎหมาย กฎเกณฑ์หรือนโยบายที่พิพาท
                   นั้นมีลักษณะเป็นการปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางบุคคลโดยมีบุคคลกลุํมหนึ่งได๎รับการปฏิบัติที่ด๎อยกวําหรือ
                   ถูกจํากัดสิทธิ ภายใต๎เงื่อนไขวําบุคคลทั้งสองกลุํมนั้นอยูํในสถานการณ์ที่เปรียบเทียบกันได๎ ซึ่งจะแตกตํางกับ
                   การเลือกปฏิบัติโดยอ๎อมซึ่งกฎหมายหรือกฎเกณฑ์นั้นดูภายนอกแล๎วไมํมีการปฏิบัติที่แตกตํางกันกลําวคือมุํง

                   หมายบังคับโดยไมํจําแนกความแตกตํางของบุคคลแตํสํงผลกระทบทําให๎บุคคลบางกลุํมเสียเปรียบด๎วยเหตุ
                   แหํงการเลือกปฏิบัติ


                           นอกจากนี้ กฎหมายอื่นของสหภาพยุโรปซึ่งมีการกําหนดหลักเกณฑ์การเลือกปฏิบัติโดยตรงไว๎ เชํน
                   มาตรา 2.2 (a)  ของ EU  Race  Directive  กําหนดวํา “การเลือกปฏิบัติโดยตรงจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลถูก
                   ปฏิบัติอันเป็นที่พึงพอใจน๎อยกวําบุคคลอื่น โดยถูกปฏิบัติในสถานการณ์ที่เปรียบเทียบกันได๎ด๎วยเหตุแหํงเชื้อ
                   ชาติหรือถิ่นกําเนิด”


                           มาตรา 45 ของ Treaty on the Functioning of the European Union (TFEU) วางหลัก
                   เกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนย๎ายแรงงานในสหภาพยุโรป โดยมีหลักการเกี่ยวกับการห๎ามเลือกปฏิบัติคือ

                   “เสรีภาพในการเคลื่อนย๎ายแรงงานนั้นรวมถึงการขจัดการเลือกปฏิบัติใดๆด๎วยเหตุแหํงสัญชาติ ในกรณีที่
                   เกี่ยวกับการจ๎างแรงงาน คําตอบแทน เงื่อนไขการทํางาน”  ตัวอยํางคดี เชํน กฎหมายฝรั่งเศสกําหนด
                   สัดสํวนลูกเรือฝรั่งเศสให๎ต๎องประกอบไปด๎วยผู๎มีสัญชาติฝรั่งเศสจํานวนหนึ่ง (Commission v. Italy, 2001

                   ECR I-4923) หรือในคดี Groener v. Minister for Education (1989) ซึ่งเป็นเรื่องที่ผู๎หญิงชาวดัทช์ถูก
                   ปฏิเสธตําแหนํงงานสอนหนังสือในวิทยาลัยแหํงหนึ่งใน Dublin  ด๎วยเหตุที่ไมํพูดภาษา Gaelic  จึงฟูองวํา
                   การปฏิเสธนี้เป็นการเลือกปฏิบัติและขัดตํอหลักการเคลื่อนย๎ายแรงงาน  อยํางไรก็ตาม ศาลตัดสินวํา การ
                   ปฏิบัติดังกลําวสมเหตุผล เนื่องจากพิจารณาระหวํางวัตถุประสงค์ (การสํงเสริมภาษาประจําชาติ)  และ

                   วิธีการสําหรับนําไปสูํเปูาหมายนั้น (การรับครูที่สามารถพูดภาษาประจําชาติได๎) แล๎วเห็นวําได๎สัดสํวนและไมํ
                   เป็นการเลือกปฏิบัติตํอประชาชนสัญชาติอื่นในยุโรป
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224