Page 216 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 216

192


                   กับบุคคลบางกลุํมด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ การเลือกปฏิบัติโดยตรงนี้จะเห็นได๎จากการปฏิบัติที่มี
                   วัตถุประสงค์เห็นได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติอันสะท๎อนจากลักษณะหรือรูปแบบของการปฏิบัติที่มีความ

                   แตกตํางกันระหวํางบุคคลที่เกี่ยวข๎อง เชํน กฎหมายที่ให๎สิทธิกับเพศหนึ่งโดยกีดกันอีกเพศหนึ่ง จะเห็นได๎วํา
                   กฎหมายนี้มีวัตถุประสงค์ที่เห็นได๎ชัดวําเป็นการเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงเพศ




                           4.1.1 การเลือกปฏิบัติโดยตรงในบริบทของอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ


                           กลไกตามสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติมีแนวทางพิจารณาหลักการเลือกปฏิบัติ
                   โดยตรงไปในทิศทางใกล๎เคียงกัน ดังจะเห็นได๎จากความเห็นทั่วไปของ HRC (Human Rights Committee,
                                                            66
                   General Comment 18, Non-Discrimination)  ได๎มีการอธิบายการเลือกปฏิบัติไว๎ วํา การเลือกปฏิบัติ
                   ตามมาตรา 2 และมาตรา 26 ของ ICCPR นั้นหมายถึง “การเลือกปฏิบัติที่ใช๎ใน ICCPR นั้นควรเข๎าใจวํามี
                   นัยถึงความแตกตํางใดๆ การกีดกัน การจํากัด หรือ การปฏิบัติเป็นพิเศษ ซึ่งอยูํบนพื้นฐานของเชื้อชาติ สีผิว
                   เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง ชาติหรือสังคมดั้งเดิม ทรัพย์สิน สถานะอื่นใด และมี

                   วัตถุประสงค์หรือผลกระทบ (Purpose  or  effect)  ในเชิงอุปสรรคหรือเป็นการลดทอนการใช๎สิทธิและ
                   เสรีภาพทั้งหลายของบุคคลนั้นบนพื้นฐานของความเทําเทียมกัน”


                           จะเห็นได๎วําแม๎ความเห็นทั่วไปนี้มิได๎กลําวโดยชัดเจนถึงการเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม (Indirect
                   Discrimination) แตํจากที่อธิบายวํา “…มีวัตถุประสงค์หรือผลกระทบ (Purpose or Effect)” นั้นแสดงอยูํ
                   วํา การเลือกปฏิบัติตามการความเห็นทั่วไปนี้ หมายรวมถึงการเลือกปฏิบัติโดยตรงและการเลือกปฏิบัติโดย

                   อ๎อม (Direct  and  Indirect  Discrimination)  เนื่องจากการเลือกปฏิบัติโดยตรงจะมุํงเน๎นที่วัตถุประสงค์
                   (Purpose)  ในขณะที่การเลือกปฏิบัติทางอ๎อมจะพิจารณาที่ผลกระทบ (Effect)  กลําวคือ แม๎โดยรูปแบบ
                   ของการปฏิบัติหรือกฎเกณฑ์นั้นจะมีลักษณะเป็นกลาง โดยปฏิบัติตํอบุคคลเทําเทียมกัน แตํในเชิงของ
                   ผลกระทบแล๎ว การปฏิบัติหรือกฎเกณฑ์ดังกลําวสํงผลให๎บุคคลบางกลุํมเสียเปรียบหรือถูกกีดกัน


                           ตัวอยํางคดีที่ตัดสินตามหลักของ ICCPR เชํน

                                              67
                            Lovelace v. Canada  ซึ่งเป็นกรณีของกฎหมายแคนาดา (Canadian Indian Act) วางหลักวํา
                   หญิงอินเดียนที่สมรสกับคนที่มิใชํอินเดียนจะเสียสถานะความเป็นอินเดียน ในขณะที่ชายอินเดียนไมํสูญเสีย
                   สถานะนั้นแม๎วําจะสมรสกับหญิงที่ไมํใชํอินเดียน ดังนี้เป็นการเลือกปฏิบัติโดยตรงด๎วยเหตุแหํงเพศ







                   66  UN Human Rights Committee (HRC), “CCPR General Comment No. 18: Non-discrimination,” 10
                   November 1989
                   67  Sandra Lovelace v. Canada (Communication No. 24/1977: Canada 30/07/81, UN Doc.
                   CCPR/C/13/D/24/1977)
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221