Page 215 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 215

191



                                                            บทที่ 4


                           วิเคราะห์ประเด็นความเสมอภาคและการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายไทยและต่างประเทศ





                           หลังจากที่ได๎ศึกษาถึงสภาพปัญหา ข๎อเท็จจริง จากคําร๎อง การสัมภาษณ์ / ประชุมกลุํมยํอย / รับ
                   ฟังความคิดเห็น ในบทที่ 2 และ การศึกษาหลักกฎหมายที่เกี่ยวข๎องในบทที่ 3 แล๎ว ในบทนี้ผู๎วิจัยวิเคราะห์
                   ประเด็นตํางๆของการเลือกปฏิบัติและความเทําเทียมกัน โดยจําแนกการวิเคราะห์ออกเป็นสองสํวนหลักคือ


                           ส่วนแรก วิเคราะห์ความหมาย ขอบเขต แนวคิดเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติและความเทําเทียมกัน
                   เชํน การเลือกปฏิบัติโดยตรง การเลือกปฏิบัติโดยอ๎อม การเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม มาตรการยืนยันสิทธิ

                   เชิงบวก ขอบเขตแหํงการใช๎ดุลพินิจ

                           ส่วนที่สอง วิเคราะห์ประเด็นการเลือกปฏิบัติตามกรอบของปัจจัยสองประการคือ เหตุแหํงการ

                   เลือกปฏิบัติ และ มิติของการเลือกปฏิบัติ โดยมีการวิเคราะห์ประเด็นเฉพาะและกรณีศึกษาที่เกี่ยวข๎องเป็น
                   รายประเด็นไป เชํน การเลือกปฏิบัติในบริการภาครัฐ ภาคเอกชน การสื่อสารที่ทําให๎เกิดความเกลียดชัง
                   (Hate Speech) การคุกคาม (Harassment) ฯลฯ





                   4.1 การเลือกปฏิบัติโดยตรง (Direct Discrimination)




                           ในสํวนนี้ จะทําการวิเคราะห์หลักการเลือกปฏิบัติโดยตรง โดยจะพิจารณาแนวคิดและหลักการ
                   ดังกลําวในบริบทของกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศ เพื่อให๎เห็นถึงการปรับใช๎หลักการดังกลําว

                   สําหรับการคุ๎มครองสิทธิผู๎ถูกเลือกปฏิบัติ รวมทั้งนําคดีที่เกิดขึ้นในบริบทของกฎหมายสิทธิมนุษชนระหวําง
                   ประเทศที่เกี่ยวข๎องมาวิเคราะห์ประกอบด๎วย


                           การห๎ามเลือกปฏิบัติโดยตรงมีสํวนสัมพันธ์กับการสํงเสริมหลักความเทําเทียมกันเชิงรูปแบบ
                   (Formal  Equality)  โดยการห๎ามการปฏิบัติอันเป็นที่พึงพอใจน๎อยกวํา (Less  Favorable  Treatment)
                   หรือการปฏิบัติในทางทําให๎เสียหาย (Detrimental  Treatment)  แกํบุคคลโดยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ

                   ตํางๆ การเลือกปฏิบัติโดยตรงนั้นเป็นการพิจารณาถึงการปฏิบัติที่แตกตํางกันระหวํางบุคคลในสภาวะหรือ
                   เงื่อนไขที่เหมือนกัน ซึ่งมักพบในกรณีของการไมํให๎สิทธิบางประการกับบุคคลบางคนหรือบางกลุํมด๎วยเหตุที่
                   บุคคลนั้นจัดอยูํในกลุํมที่เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ เชํน การตรากฎหมายจํากัดสิทธิบุคคลบาง
                   กลุํมด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ การกระทําของภาคเอกชน เชํน นายจ๎าง ในการปฏิบัติตํอลูกจ๎างแตกตําง

                   กันด๎วยเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติ รวมทั้งการกระทําของภาคเอกชนที่ปฏิเสธการให๎บริการหรือจําหนํายสินค๎า
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220