Page 202 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 202

178


                  จากจ านวนเงินภาษีที่ต๎องเสียส าหรับการขายสินค๎าดังกลําวได๎ก็ตามแตํการก าหนดวันบังคับใช๎กฎกระทรวง

                  ทั้ง 2 ฉบับมีเหตุที่ท าให๎การบังคับใช๎กฎหมายแตกตํางกันคือการที่กฎกระทรวงฉบับที่ 30  (พ.ศ.  2540)ฯ
                  ประกาศในราชกิจจานุเบกขาเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2540 มีผลบังคับใช๎ย๎อนหลังไปถึงวันที่ 23 พฤษภาคม

                  2540 ซึ่งถือวําชํวงระยะเวลาดังกลําวเป็นชํวงระยะเวลาที่อยูํในขั้นตอนการน าเข๎าวัตถุดิบหรือสํวนประกอบ

                  ที่ใช๎ในการผลิตสินค๎า สํวนการออกกฎกระทรวงฉบับที่ 31  (พ.ศ.  2541)ฯ โดยให๎มีผลบังคับใช๎ตั้งแตํวันที่
                  27 ตุลาคม 2541 อันเป็นระยะเวลาตั้งแตํวันที่ผู๎ประกอบอุตสาหกรรมน าเข๎าวัตถุดิบหรือสํวนประกอบที่ใช๎

                  ในการผลิตสินค๎าแบตเตอรี่เป็นชํวงระยะเวลาที่มากพอที่จะท าให๎ผู๎มีอาชีพประกอบอุตสาหกรรมผลิต

                  แบตเตอรี่ด าเนินการผลิตแบตเตอรี่และจ าหนํายไปยังผู๎บริโภคแล๎วเมื่อผู๎ประกอบอุตสาหกรรมผลิต
                  แบตเตอรี่ได๎จ าหนํายสินค๎าไปแล๎วภาระภาษียํอมถูกผลักภาระไปยังผู๎บริโภคแล๎วหากก าหนดให๎กฎกระทรวง

                  ฉบับนี้มีผลใช๎บังคับย๎อนหลังไปเป็นตั้งแตํวันที่ 23 พฤษภาคม 2540 ยํอมจะท าให๎เกิดความไมํเป็นธรรมตํอ
                  ผู๎บริโภคที่รับภาระภาษีแทนผู๎ประกอบอุตสาหกรรมและกลับท าให๎ผู๎ประกอบอุตสาหกรรมผลิตสินค๎า

                  แบตเตอรี่ได๎ประโยชน์จากการน าเงินภาษีที่ได๎เสียไปแล๎วส าหรับวัตถุดิบหรือสํวนประกอบที่ใช๎ในการผลิต
                  สินค๎าแบตเตอรี่มาหักออกจากจ านวนเงินภาษีที่ต๎องเสียส าหรับสินค๎าดังกลําวโดยรัฐต๎องรับภาระน าเงินซึ่ง

                  ได๎มาจากภาษีของประชาชนมาจํายคืนให๎ซึ่งจะท าให๎การบังคับใช๎กฎหมายไมํมีประสิทธิภาพและเกิดความ

                  ไมํเป็นธรรมตํอผู๎บริโภคและเกิดความเสียหายแกํรัฐการที่ผู๎ฟูองคดีซึ่งมีอาชีพในการประกอบอุตสาหกรรม
                  ผลิตสินค๎าแบตเตอรี่รายหนึ่งอ๎างวําไมํได๎ผลักภาระไปยังผู๎บริโภคจึงไมํอาจรับฟังเพื่อเป็นเหตุให๎ก าหนดวัน

                  บังคับใช๎กฎกระทรวงฉบับที่ 31  (พ.ศ.  2541)ฯ ย๎อนหลังไปในวันที่ 23 พฤษภาคม 2540 ได๎ดังนั้นการที่

                  กฎกระทรวงฉบับดังกลําวมีผลใช๎บังคับตั้งแตํวันที่ 27 ตุลาคม 2541 จึงไมํมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติ


                         21) กรณีฟ้องว่าประกาศกระทรวงการคลังเรื่องก าหนดสถานบริการฯที่ให้จัดเก็บภาษี
                  สรรพสามิตของสนามกอล์ฟมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติ (ค าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ.

                  18/2547)
                         ผู๎ฟูองคดีเป็นผู๎ประกอบกิจการสนามกอล์ฟได๎รับความเดือดร๎อนเสียหายจากการที่รัฐมนตรีวําการ

                  กระทรวงการคลัง (ผู๎ถูกฟูองคดีที่ 2) ได๎ออกประกาศกระทรวงการคลังเรื่องก าหนดสถานบริการประเภทที่

                  09.90 ในตอนที่ 9 สถานบริการตามพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตลงวันที่ 14 ตุลาคม 2540 เนื่องจาก
                  ประกาศกระทรวงดังกลําวท าให๎ผู๎ประกอบกิจการสนามกอล์ฟรวมทั้งผู๎ฟูองคดีต๎องประสบปัญหาทางด๎าน

                  เศรษฐกิจต๎องเสียภาษีเพิ่มขึ้นผู๎ฟูองคดีจึงได๎มีหนังสือถึงผู๎ถูกฟูองคดีที่ 2 และผู๎ถูกฟูองคดีที่ 2 มีหนังสือแจ๎ง

                  ผู๎ฟูองคดีวําผู๎ใช๎บริการสนามกอล์ฟสํวนใหญํเป็นผู๎มีฐานะทางการเงินดีควรเสียภาษีให๎รัฐจึงไมํสมควรยกเลิก
                  การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตจากสนามกอล์ฟผู๎ฟูองคดีเห็นวําการที่ผู๎ถูกฟูองคดีที่ 2 ไมํพิจารณายกเลิกการ

                  เรียกเก็บภาษีสรรพสามิตของสนามกอล์ฟโดยให๎เหตุผลวําผู๎ใช๎บริการสนามกอล์ฟเป็นผู๎มีฐานะทางการเงินดี
                  เทํากับเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอผู๎ใช๎สนามกอล์ฟเพราะเหตุฐานะทางเศรษฐกิจจึงเป็นการขัด

                  ตํอมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยฯ จึงน าคดีมาฟูองขอให๎ศาลเพิกถอนประกาศดังกลําว
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207