Page 192 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 192

168


                  มีมติไมํรับสมัครผู๎ฟูองคดีเนื่องจากเป็นผู๎มีบุคลิกภาพและรํางกายไมํเหมาะสมที่จะเป็นข๎าราชการอัยการ

                  ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 33 (11) แหํงพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการฝุายอัยการ พ.ศ. 2521 ซึ่งผู๎ถูก
                  ฟูองคดีเห็นชอบด๎วยกับคณะอนุกรรมการฯจึงได๎ประกาศรายชื่อผู๎มีสิทธิสอบโดยไมํมีรายชื่อผู๎ฟูองคดีเป็นผู๎มี

                  สิทธิสอบผู๎ฟูองคดีเห็นวําเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องสภาพทาง

                  กายจึงน าคดีมาฟูองขอให๎ศาลเพิกถอนมติดังกลําว


                         ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า การที่ผู๎ถูกฟูองคดีจะใช๎อ านาจดุลพินิจตามมาตรา 33  (11)  และ

                  (12) แหํงพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการฝุายอัยการ พ.ศ. 2521 มาประกอบการวินิจฉัยวําผู๎สมัครสอบ
                  คัดเลือกเพื่อบรรจุเป็นข๎าราชการอัยการในต าแหนํงอัยการผู๎ชํวยรายใดมีกายหรือจิตใจไมํเหมาะสมที่จะเป็น

                  ข๎าราชการอัยการต๎องมีเหตุที่หนักแนํนควรคําแกํการรับฟังด๎วยวําผู๎สมัครสอบคัดเลือกรายนั้นมีกายหรือ
                  จิตใจที่ไมํเหมาะสมอยํางไรอันท าให๎ไมํสามารถปฏิบัติงานในหน๎าที่ของข๎าราชการอัยการได๎ซึ่งเมื่อ

                  ข๎อเท็จจริงและหนังสือของผู๎ที่รับรองสุขภาพและความสามารถในการปฏิบัติงานของผู๎ฟูองคดีที่มีถึง
                  คณะอนุกรรมการพิจารณาคุณสมบัติของผู๎สมัครสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็นข๎าราชการในต าแหนํงอัยการ

                  ผู๎ชํวย พ.ศ. 2544 ฟังได๎วําผู๎ฟูองคดีแม๎จะมีรูปกายพิการแตํความพิการดังกลําวไมํถึงขนาดที่ท าให๎ผู๎ฟูองคดี

                  ไมํอาจชํวยเหลือตนเองได๎หรือไมํอาจปฏิบัติหน๎าที่การงานโดยปกติได๎โดยที่งานที่ผู๎ฟูองคดีเคยท าในขณะ
                  เป็นทนายความมาแล๎วนั้นมีลักษณะท านองเดียวกับงานของข๎าราชการอัยการจึงนําเชื่อวําแม๎สภาพทางกาย

                  ของผู๎ฟูองคดีจะพิการแตํความแตกตํางดังกลําวไมํถึงขั้นจะเป็นอุปสรรคอยํางมากตํอการปฏิบัติหน๎าที่ใน

                  ลักษณะงานของอัยการดังนั้นการที่ผู๎ถูกฟูองคดีมีมติไมํรับสมัครผู๎ฟูองคดีโดยมิได๎พิจารณาถึงความสามารถ
                  ที่แท๎จริงในการปฏิบัติงานของผู๎ฟูองคดีจึงไมํมีเหตุผลที่หนักแนํนควรคําแกํการรับฟังวําการที่ผู๎ฟูองคดีมีกาย

                  พิการดังกลําวจะท าให๎ไมํสามารถปฏิบัติงานในหน๎าที่ของข๎าราชการอัยการได๎อยํางไรมติของผู๎ถูกฟูองคดีที่
                  ไมํรับสมัครผู๎ฟูองคดีในการสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็นข๎าราชการอัยการในต าแหนํงอัยการผู๎ชํวยประจ าปี

                  พ.ศ. 2544 จึงเป็นการใช๎ดุลพินิจโดยไมํชอบด๎วยมาตรา 33 (11) แหํงพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการ
                  ฝุายอัยการ พ.ศ. 2521 และเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมตํอผู๎ฟูองคดีตามมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญ

                  แหํงราชอาณาจักรไทย


                         11) การก าหนดให้ผู้ได้รับปริญญาตรีเกียรตินิยมเป็นวุฒิที่ก าหนดให้ใช้วิธีการคัดเลือกแทนการ

                  สอบแข่งขันได้เป็นการให้สิทธิเหนือกว่าหรือดีกว่าผู้ที่ได้รับปริญญาตรีในสาขาเดียวกันแต่ไม่ได้รับ

                  เกียรตินิยมเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม (ค าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.158/2550)
                         มติของคณะกรรมการข๎าราชการพลเรือน (ผู๎ถูกฟูองคดีที่ 1) ที่ก าหนดให๎ผู๎มีอ านาจสั่งบรรจุบุคคล

                  เข๎ารับราชการและแตํงตั้งให๎ด ารงต าแหนํงตามมาตรา 52 แหํงพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการพลเรือน
                  พ.ศ.  2535 สามารถคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลซึ่งส าเร็จการศึกษาปริญญาตรีเกียรตินิยมทุกสาขาวิชาจาก

                  สถาบันการศึกษาที่ผู๎ถูกฟูองคดีที่ 1 รับรองทั้งในประเทศและตํางประเทศเข๎ารับราชการเป็นข๎าราชการพล
                  เรือนสามัญและแตํงตั้งให๎ด ารงต าแหนํงที่ได๎รับคัดเลือก ตามข๎อ 1.2 ของหนังสือส านักงาน ก.พ.  ที่ นร
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197