Page 190 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 190

166


                  ในฐานะรองปลัดเทศบาลหรือปลัดเทศบาลก็ได๎ จึงเป็นการสร๎างขั้นตอนโดยไมํจ าเป็นและเป็นการ

                  ด าเนินการนอกเหนือจากหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามประกาศก าหนดการกระท าของผู๎ถูกฟูองคดีจึงขัดตํอ
                  หลักความชอบด๎วยกฎหมายของการกระท าทางปกครองนอกจากนั้นการที่ผู๎ถูกฟูองคดีมีมติเห็นชอบให๎ผู๎ยื่น

                  ค าขอรายอื่นซึ่งด ารงต าแหนํงในลักษณะเดียวกันกับผู๎ฟูองคดีที่ยื่นค าขอในล าดับกํอนและหลังผู๎ฟูองคดีโดย

                  มิได๎ให๎บุคคลดังกลําวจัดท าวิสัยทัศน์ประกอบการพิจารณาแตํอยํางใดกรณีจึงเห็นได๎วําผู๎ถูกฟูองคดีได๎ปฏิบัติ
                  ตํอบุคคลประเภทเดียวกันให๎แตกตํางกันในสาระส าคัญอันเป็นการเลือกปฏิบัติอีกทั้งข๎อเท็จจริงยังปรากฏวํา

                  ผู๎ฟูองคดีได๎ปฏิบัติงานในฐานะปลัดเทศบาลตั้งแตํด ารงต าแหนํงนักบริหารงานเทศบาล 5 มาโดยตลอด

                  จนกระทั่งปัจจุบันและผู๎ด ารงต าแหนํงปลัดเทศบาลและรองปลัดเทศบาลที่ด ารงต าแหนํงในสายงานนัก
                  บริหารเทศบาลในระดับ 6  เชํนเดียวกันสามารถโอนเปลี่ยนกันได๎จึงเห็นได๎วําทั้งสองต าแหนํงต๎องการผู๎มี

                  ความรู๎ความสามารถไมํแตกตํางกันดังนั้นการกระท าของผู๎ถูกฟูองคดียํอมถือได๎วําเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํ
                  เป็นธรรมขัดตํอหลักความเสมอภาคมติของผู๎ถูกฟูองคดีที่ให๎ผู๎ฟูองคดีจัดท าวิสัยทัศน์ประกอบการพิจารณา

                  กํอนเข๎าสูํต าแหนํงปลัดเทศบาลจึงไมํชอบด๎วยกฎหมายและการไมํพิจารณาให๎ความเห็นชอบตามค าขอของ
                  ผู๎ฟูองคดีจึงเป็นการละเลยตํอหน๎าที่ตามที่กฎหมายก าหนดให๎ต๎องปฏิบัติตามมาตรา 15 วรรคหนึ่ง ประกอบ

                  มาตรา 23 วรรคหก แหํงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสํวนท๎องถิ่น พ.ศ. 2542 แม๎ข๎อเท็จจริง

                  จะปรากฏวําหลังจากที่ศาลปกครองชั้นต๎นพิพากษายกฟูองแล๎วผู๎ฟูองคดีได๎จัดท าวิสัยทัศน์และได๎รับความ
                  เห็นชอบให๎ไปด ารงต าแหนํงปลัดเทศบาลต าบล พ. แล๎วก็ตาม กรณีก็ยังไมํอาจถือได๎วําความเดือดร๎อน

                  เสียหายของผู๎ฟูองคดีได๎หมดสิ้นไปเนื่องจากการกระท าของผู๎ถูกฟูองคดีที่มีมติให๎ผู๎ฟูองคดีจัดท าวิสัยทัศน์แตํ

                  อยํางใด


                         9) กรณีฟ้องขอให้เพิกถอนข้อบังคับมหาวิทยาลัย ม. ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
                  2543 ลงวันที่ 4 ตุลาคม 2543 ข้อ 34.5.2 เรื่องภาษาที่ใช้ในการเขียนวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ (ค า

                  พิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.9/2546)
                         มหาวิทยาลัย ม.  (ผู๎ถูกฟูองคดี)  ได๎ออกระเบียบบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยฯ วําด๎วยการท า

                  วิทยานิพนธ์และการสอบวิทยานิพนธ์ พ.ศ.  2530 โดยข๎อ 9 ของระเบียบดังกลําวได๎ก าหนดให๎เขียน

                  วิทยานิพนธ์เป็นภาษาอังกฤษ ยกเว๎นกรณีที่ใช๎ภาษาอังกฤษแล๎วจะท าให๎การบรรยายสื่อความหมายได๎ไมํ
                  ชัดเจนก็ให๎ใช๎ภาษาไทยได๎โดยให๎อยูํในดุลพินิจของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยที่จะพิจารณาอนุโลมเป็นกรณีไป

                         ตํอมาเมื่อผู๎ฟูองคดีได๎เข๎าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรปริญญาโทของผู๎ถูกฟูองคดีในปี

                  การศึกษา 2542 ผู๎ถูกฟูองคดีได๎ออกข๎อบังคับมหาวิทยาลัย ม. วําด๎วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
                  2543 ลงวันที่ 4 ตุลาคม 2543 โดยให๎ยกเลิกระเบียบบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยฯ แตํตามข๎อบังคับ

                  ดังกลําวข๎อ 34.5.2 ก าหนดในสํวนที่เกี่ยวกับภาษาที่ใช๎ในการเขียนวิทยานิพนธ์โดยมีเนื้อหาในลักษณะ
                  เดียวกันผู๎ฟูองคดีเห็นวําการออกข๎อบังคับดังกลําวเป็นการกระท าที่ไมํชอบด๎วยกฎหมายเนื่องจากมีเนื้อหา

                  ก าหนดให๎นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาต๎องเขียนวิทยานิพนธ์เป็นภาษาอังกฤษอันเป็นการสร๎างขั้นตอนใน
                  การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาโดยไมํจ าเป็นและเป็นการสร๎างภาระให๎ผู๎ฟูองคดีและ
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195