Page 191 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 191

167


                  นักศึกษาเกินสมควรจึงน าคดีมาฟูองขอให๎เพิกถอนข๎อบังคับมหาวิทยาลัยฯ วําด๎วยการศึกษาระดับ

                  บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2543 ลงวันที่ 4 ตุลาคม 2543 ข๎อ 34.5.2 เรื่องภาษาที่ใช๎ในการเขียนวิทยานิพนธ์และ
                  สารนิพนธ์ดังกลําว

                         ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่าการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคลตามมาตรา 30 ของ

                  รัฐธรรมนูญนั้นเกิดจากเหตุที่มีความแตกตํางในเรื่องถิ่นก าเนิดเชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกาย หรือ
                  สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความ

                  คิดเห็นทางการเมืองเมื่อข๎อบังคับของผู๎ถูกฟูองคดีเกี่ยวกับเรื่องดังกลําวเป็นกฎที่ใช๎กับนักศึกษาทุกคนที่

                  สมัครเข๎าศึกษาในสถาบันการศึกษาของผู๎ถูกฟูองคดีตามหลักการและเงื่อนไขตํางๆเสมอเหมือนกันทุกคนไมํ
                  มีข๎อก าหนดใดที่จะท าให๎มีการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมโดยเกิดจากความแตกตํางตามมาตรา 30 ของ

                  รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยแตํอยํางใดสํวนข๎อก าหนดในข๎อบังคับพิพาทที่ก าหนดให๎ใช๎ภาษาอังกฤษ
                  ในการเขียนวิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์โดยมีข๎อยกเว๎นในกรณีที่วิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์อาจจ าเป็นต๎อง

                  ใช๎ภาษาไทยในการเขียนซึ่งคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอาจพิจารณาอนุโลมได๎เป็นกรณีไปนั้นเป็นเรื่องการใช๎
                  ดุลพินิจของคณบดีฯ หากการใช๎ดุลพินิจของคณบดีฯ กํอให๎เกิดการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมก็เป็นเรื่องของ

                  ค าสั่งที่เกิดจากการใช๎ดุลพินิจของคณบดีฯ มิใชํเพราะข๎อบังคับให๎อ านาจใช๎ดุลพินิจซึ่งเป็นเรื่องของกฎแตํ

                  อยํางใด


                         10) การที่คณะกรรมการอัยการไม่รับสมัครสอบบุคคลที่มีรูปกายพิการเพื่อสอบคัดเลือกเป็น

                  ข้าราชการอัยการในต าแหน่งอัยการผู้ช่วยมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติ (ค าพิพากษาศาลปกครอง
                  สูงสุดที่ อ.142/2547)

                         ศาลปกครองสูงสุดพิพากษาวางหลักในเรื่องความเสมอภาคตามมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํง
                  ราชอาณาจักรไทยฯ ในกรณีที่มีการน าเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องสภาพทางกายมากลําวอ๎างเพื่อปฏิบัติ

                  ตํอบุคคลให๎แตกตํางกันโดยไมํมีเหตุที่หนักแนํนควรคําแกํการรับฟังยํอมถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็น
                  ธรรม

                         ประธานกรรมการอัยการโดยอาศัยมติของคณะกรรมการอัยการ  (ผู๎ถูกฟูองคดี)  ได๎ออกประกาศ

                  ก.อ. เรื่องก าหนดการสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็นข๎าราชการอัยการในต าแหนํงอัยการผู๎ชํวย พ.ศ. 2544 ซึ่ง
                  ในการรับสมัครสอบคัดเลือกครั้งนี้มีผู๎มาสมัครสอบคัดเลือกทั้งสิ้นจ านวน 1,404 คน ในการนี้ผู๎ฟูองคดีซึ่งมี

                  รูปกายพิการซึ่งประกอบวิชาชีพทนายความมาตั้งแตํปี พ.ศ. 2539 ได๎ยื่นใบสมัครสอบด๎วยโดยบุคคลอ๎างอิง

                  ของผู๎ฟูองคดีได๎มีหนังสือถึงคณะกรรมการแพทย์ให๎ข๎อมูลประกอบในการพิจารณาการตรวจรํางกายและ
                  จิตใจและรับรองการปฏิบัติงานของผู๎ฟูองคดีรับรองวําแม๎ผู๎ฟูองคดีจะมีรูปกายพิการแตํผู๎ฟูองคดีมีสุขภาพ

                  แข็งแรงสามารถปฏิบัติงานในหน๎าที่ของทนายความได๎ดีไมํมีอุปสรรคใดๆซึ่งคณะอนุกรรมการพิจารณา
                  คุณสมบัติของผู๎สมัครสอบคัดเลือกฯได๎รับรายงานผลการตรวจรํางกายของคณะกรรมการแพทย์วําผู๎ฟูองคดี

                  เป็นผู๎มีรูปกายพิการเดินขากะเผลกกล๎ามเนื้อแขนลีบจนถึงปลายมือทั้งสองข๎างกล๎ามเนื้อขาลีบจนถึงปลาย
                  เท๎าทั้งสองข๎างกระดูกสันหลังคดได๎รับการผําตัดดามเหล็กที่กระดูกสันหลังไว๎เพื่อให๎ไหลํทั้งสองข๎างเทํากันจึง
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196