Page 187 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 187

163


                  ชั้นเยี่ยม ฟูองวําพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2549 ไมํชอบด๎วยกฎหมาย เนื่องจากมีผลท า

                  ให๎ไมํได๎รับการลดโทษหรือได๎รับการลดโทษโดยไมํเทําเทียมกับผู๎ต๎องโทษในความผิดฐานอื่น อันมีลักษณะ
                  เป็นการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรม จึงน าคดีมาฟูองขอให๎ศาลเพิกถอน มาตรา 8 มาตรา 9 มาตรา 10 และ

                  มาตรา 11 แหํงพระราชกฤษฎีกาดังกลําว อันเป็นบทบัญญัติสํวนที่ไมํชอบด๎วยกฎหมาย

                         ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า การที่นักโทษซึ่งเป็นผู๎ต๎องโทษจ าคุกไมํถึงตลอดชีวิตในความผิดฐาน
                  จ าหนํายยาเสพติดให๎โทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให๎โทษ พ.ศ. 2522 โดยได๎รับพระราชทานอภัยโทษ

                  ตามล าดับชั้นนักโทษเด็ดขาดชั้นเยี่ยม 1 ใน 6 จึงต๎องด๎วยลักษณะบทบัญญัติตามมาตรา 10 (2) แหํงพระ

                  ราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2549 ซึ่งความผิดฐานผลิต จ าหนําย น าเข๎า สํงออก หรือจ าหนําย
                  ยาเสพติดให๎โทษ ส าหรับผู๎ต๎องโทษจ าคุกไมํถึงตลอดชีวิตให๎ลดโทษจากก าหนดโทษตามล าดับชั้นนักโทษ

                  เด็ดขาดตามกฎหมายวําด๎วยราชทัณฑ์หรือกฎหมายวําด๎วยเรือนจ าทหาร และการที่ศาลอาญากรุงเทพใต๎
                  พิพากษาให๎เพิ่มโทษนักโทษฐานกระท าความผิดตามมาตรา 93 แหํงประมวลกฎหมายอาญาท าให๎นักโทษ

                  ดังกลําวไมํอยูํในขํายที่จะได๎รับพระราชทานอภัยโทษ ต๎องด๎วยลักษณะบทบัญญัติตามมาตรา 11 (2) แหํง
                  พระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2549 อันเป็นบทบัญญัติที่ต๎องห๎ามมิให๎ผู๎กระท าผิดซ้ าไมํมี

                  ความเข็ดหลาบได๎รับพระราชทานอภัยโทษ กรณีจึงมิใชํการเลือกปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมบทบัญญัติแหํงมาตรา

                  10 (2) และมาตรา 11 (2) แหํงพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2549 จึงไมํขัดตํอรัฐธรรมนูญ
                  แหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 อีกทั้งพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2549 เป็น

                  การพระราชทานอภัยโทษเป็นการทั่วไปอันอยูํในขอบเขตแหํงพระราชอ านาจของพระมหากษัตริย์ตามที่

                  คณะรัฐมนตรีเห็นสมควรถวายค าแนะน าขอให๎พระราชทานอภัยโทษแกํนักโทษเด็ดขาดทุกคนที่เข๎าเกณฑ์
                  ก าหนดที่จะอยูํในขํายพระมหากรุณาธิคุณก็ได๎รับพระราชทานอภัยโทษ โดยลดหลั่นมากและน๎อยตาม

                  ประเภทของนักโทษหรือตามล าดับชั้น นักโทษแล๎วแตํกรณีอยํางทั่วกัน และไมํปรากฏวําพระราชกฤษฎีกา
                  ดังกลําวตราขึ้นโดยขัดกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช

                  2479 และรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ซึ่งใช๎บังคับในขณะนั้น บทบัญญัติมาตรา
                  10 (2) และมาตรา 11 (2) แหํงพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ พ.ศ. 2549 จึงเป็นบทบัญญัติที่ออก

                  โดยชอบด๎วยกฎหมายแล๎ว


                         6) การออกค าสั่งของผู้บังคับบัญชาที่ลงทัณฑ์กักขังผู้ฟ้องคดีไม่มีลักษณะเป็นโทษซ้ าซ้อน และ

                  ไม่เป็นการเลือกปฏิบัติ (ค าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.61/2551)

                         ผู๎ฟูองคดีเป็นข๎าราชการต ารวจ ปฏิบัติหน๎าที่ ในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศส านักงานตรวจคนเข๎า
                  เมือง โดยขณะปฏิบัติหน๎าที่ ได๎ท าตราประทับตรวจหนังสือเดินทางขาเข๎า รหัส A820 ที่ครอบครองอยูํสูญ

                  หาย แตํตํอมามีผู๎น ามาคืน ผู๎บังคับบัญชาจึงได๎มีบันทึกวํากลําวตักเตือนแตํตํอมาผู๎บังคับบัญชาได๎ตรวจ
                  พบวํารอยตราประทับที่ผู๎ฟูองคดีครอบครองได๎ถูกน าไปประทับให๎แกํผู๎โดยสารซึ่งเป็นคนตํางด๎าวที่เดินทาง

                  ออกนอกราชอาณาจักร มีความแตกตํางกับรอยตราของจริงซึ่งเก็บรักษาไว๎ จึงเป็นกรณีนําเชื่อวํารอยตรา
                  ประทับที่ผู๎ฟูองคดีใช๎ประทับให๎แกํคนตํางชาติที่เข๎ามาในราชอาณาจักรดังกลําวมิใชํเกิดจากตราประทับที่
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192