Page 186 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 186

162


                         ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า เมื่อข๎อเท็จจริงรับฟูงได๎วํา ผู๎ด ารงต าแหนํงรองผู๎อ านวยการ

                  สถานศึกษา ผู๎ด ารงต าแหนํงผู๎อ านวยการสถานศึกษา ผู๎ด ารงต าแหนํงครูและครูผู๎ชํวย รวมทั้งผู๎ด ารง
                  ต าแหนํงในสายงานสนับสนุน เชํน เจ๎าหน๎าที่บริหารงานทั่วไป นักวิชาการพัสดุ เจ๎าหน๎าที่ บันทึกข๎อมูล เป็น

                  ผู๎มีสิทธิเลือกตั้ง และมีสิทธิเข๎ารับการเลือกตั้งเป็นอนุกรรมการผู๎แทนข๎าราชการครูและบุคลากรทางการ

                  ศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ด๎วยคุณสมบัติด๎านต าแหนํง แตํผู๎ด ารงต าแหนํงรองผู๎อ านวยการส านักงานเขต
                  พื้นที่การศึกษา ผู๎ด ารงต าแหนํงผู๎ชํวยผู๎อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา และผู๎ด ารงต าแหนํง

                  เจ๎าหน๎าที่บริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลับไมํมีสิทธิเลือกตั้งและไมํมีสิทธิเข๎ารับการเลือกตั้งเป็น

                  อนุกรรมการผู๎แทนข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ทั้งที่มิได๎มีบทบัญญัติแหํง
                  กฎหมาย จ ากัดคุณสมบัติด๎านต าแหนํงไว๎การออกกฎ ก.ค.ศ. วําด๎วยหลักเกณฑ์และวิธีการได๎มาของ

                  อนุกรรมการผู๎ทรงคุณวุฒิและอนุกรรมการผู๎แทนข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน อ.ก.ค.ศ. เขต
                  พื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2548 ของคณะกรรมการข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงเป็นการก าหนด

                  หลักเกณฑ์และวิธีการที่จ ากัดสิทธิในการเลือกตั้งและจ ากัดสิทธิในการเข๎ารับการเลือกตั้งเป็นอนุกรรมการ
                  ผู๎แทนข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งกํอให๎เกิดความไมํเทํา

                  เทียมระหวํางผู๎มีสิทธิกับผู๎ไมํมีสิทธิในการเลือกตั้ง และเข๎ารับการเลือกตั้งโดยไมํเป็นธรรมและไมํมีเหตุผลอัน

                  อาจรับฟังได๎อันขัดตํอหลักความเสมอภาค ตามมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย
                  พุทธศักราช 2540 และขัดตํอมาตรา 29 แหํงพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการครูและบุคลากรทางการ

                  ศึกษา พ.ศ. 2547 ดังนั้น การที่คณะกรรมการข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ก าหนด

                  หลักเกณฑ์และวิธีการได๎มาของอนุกรรมการผู๎ทรงคุณวุฒิและอนุกรรมการผู๎แทนข๎าราชการครูและบุคลากร
                  ทางการศึกษาใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2548 จึงไมํชอบด๎วยมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํง

                  ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 ประกอบด๎วยมาตรา 29 แหํงพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการครู
                  และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และไมํสอดคล๎องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบ

                  ข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 จึงพิพากษาให๎เพิกถอน ข๎อ 1 (1) ของ กฎ ก.ค.ศ. วํา
                  ด๎วยหลักเกณฑ์และวิธีการได๎มาของอนุกรรมการผู๎ทรงคุณวุฒิและอนุกรรมการผู๎แทนข๎าราชการครูและ

                  บุคลากรทางการศึกษาใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2548


                         5) กรณีฟ้องว่า มาตรา 10 (2) และมาตรา 11 (2) แห่งพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัย

                  โทษ พ.ศ. 2549 มีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติกับนักโทษบางราย (ค าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ.

                  44/2551)
                         นักโทษซึ่งต๎องโทษในความผิดฐานจ าหนํายยาเสพติดให๎โทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให๎โทษ

                  พ.ศ. 2522 โดยได๎รับโทษจ าคุก 25 ปีหรือซึ่งต๎องโทษความผิดฐานชิงทรัพย์ตามมาตรา 339 วรรคสาม
                  มาตรา 83 มาตรา 93 และมาตรา 78 แหํงประมวลกฎหมายอาญาโดยได๎รับโทษจ าคุก 14 ปีหรือซึ่ง

                  ต๎องโทษในความผิดเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ตํอจิตและประสาท พ.ศ. 2518 และ
                  พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519 ซึ่งจ าคุกมาแล๎ว 10 ปีโดยเป็นนักโทษเด็ดขาด
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191