Page 185 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 185

161


                  ประโยชน์ที่ผู๎ฟูองคดีจะพึงได๎รับจึงเป็นไปตามกฎหมายวําด๎วยบ าเหน็จบ านาญข๎าราชการ และระเบียบหรือ

                  หลักเกณฑ์ที่ ผู๎ถูกฟูองคดีก าหนดไว๎ส าหรับข๎าราชการต ารวจที่พ๎นจากราชการตามกฎหมายดังกลําว สํวน
                  ข๎าราชการต ารวจที่สมัครเข๎ารํวมโครงการปรับเปลี่ยนก าลังพล เป็นการออกจากราชการตามมาตรา 46 (3)

                  แหํงพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการต ารวจ พ.ศ. 2521 ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5

                  กันยายน 2543 ที่แจ๎งเวียนตามหนังสือส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ นร. 0205/ว (ล) 11267ลงวันที่ 7
                  กันยายน 2543 ที่อนุมัติให๎ผู๎ถูกฟูองคดีด าเนินการตามโครงการปรับเปลี่ยนก าลังพลได๎สิทธิประโยชน์ที่ผู๎

                  ออกจากราชการจะพึงได๎รับในทั้งสองกรณีจึงแตกตํางกัน เพราะเป็นคนละกรณีกันอีกทั้งโครงการดังกลําวก็

                  เปิดโอกาสให๎แกํข๎าราชการต ารวจทุกคนที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่ก าหนดไว๎ สมัครเข๎ารํวมโครงการ
                  ดังกลําวได๎รวมทั้ง ผู๎ฟูองคดีด๎วย ซึ่งผู๎ฟูองคดีเลือกที่จะไมํสมัครเข๎ารํวมโครงการดังกลําว การได๎รับสิทธิ

                  ประโยชน์ แตกตํางกันจึงเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย กฎ ระเบียบ ของการมีโครงการดังกลําว
                  ดังนั้น การที่ผู๎ถูกฟูองคดีไมํเลื่อนยศพันต ารวจเอกให๎แกํผู๎ฟูองคดี เป็นกรณีพิเศษเชํนเดียวกับการเลื่อนยศ

                  พันต ารวจเอกเป็นกรณีพิเศษให๎แกํข๎าราชการต ารวจที่ลาออกจากราชการตามโครงการปรับเปลี่ยนก าลังพล
                  มิได๎เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม และมิได๎เป็นการตํอหน๎าที่ตามกฎหมายก าหนดให๎ต๎องปฏิบัติ



                         4) การก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาของอนุกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากร
                  ทางการศึกษาใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ขัดต่อมาตรา 26 มาตรา 29 และมาตรา 30 ของ

                  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (ค าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ ฟ.17/2551)

                         ผู๎ฟูองคดีซึ่งด ารงต าแหนํงเจ๎าหน๎าที่บริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฟูองวํารัฐมนตรีวําการ
                  กระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) ออกกฎ ก.ค.ศ.

                  วําด๎วยหลักเกณฑ์และวิธีการได๎มาของอนุกรรมการผู๎ทรงคุณวุฒิและอนุกรรมการผู๎แทนข๎าราชการครูและ
                  บุคลากรทางการศึกษาใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2548 ท าให๎ผู๎ฟูองคดีซึ่งด ารงต าแหนํง

                  เจ๎าหน๎าที่บริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู๎ด ารงต าแหนํงรองผู๎อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู๎
                  ด ารงต าแหนํงผู๎ชํวยผู๎อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจนผู๎ด ารงต าแหนํงเจ๎าหน๎าที่บริหาร

                  การศึกษาขั้นพื้นฐาน รายอื่นที่ปฏิบัติงานในส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา จ านวน 175 เขตทั่วประเทศ ไมํมี

                  สิทธิได๎รับการคัดเลือกให๎เป็นอนุกรรมการผู๎ทรงคุณวุฒิใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา กับไมํมีสิทธิเลือกตั้ง
                  และไมํมีสิทธิเข๎ารับการเลือกตั้งเป็นอนุกรรมการผู๎แทนข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน อ.ก.ค.

                  ศ. เขตพื้นที่การศึกษา การออกกฎ ก.ค.ศ. ดังกลําวจึงเป็นการกระท าที่ไมํค านึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

                  จ ากัดสิทธิเสรีภาพ ซึ่งขัดตํอหลักความเสมอภาคและเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม ตามมาตรา 26
                  มาตรา 29 และมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 นอกจากนั้น ยังเป็น

                  การไมํปฏิบัติหรือละเลยหลักการบริหารบุคคลตามมาตรา 29 แหํงพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการครู
                  และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 จึงน าคดีมาฟูองตํอศาลปกครองสูงสุดเพื่อ ขอให๎มีค าพิพากษาหรือ

                  ค าสั่งให๎เพิกถอนกฎ ก.ค.ศ.วําด๎วยหลักเกณฑ์และวิธีการได๎มาของอนุกรรมการผู๎ทรงคุณวุฒิและ
                  อนุกรรมการผู๎แทนข๎าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2548
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190