Page 182 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 182

158


                  หรือมีเจตนาประการใดอันเกี่ยวกับการกระท าความผิดนั้น จึงขัดตํอหลักนิติธรรมและขัดแย๎งตํอรัฐธรรมนูญ

                  มาตรา 39 วรรคสอง
                         ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวํา พระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 มาตรา 72/5 เฉพาะในสํวนที่สันนิษฐาน

                  ให๎กรรมการผู๎จัดการ หุ๎นสํวนผู๎จัดการ ผู๎แทนนิติบุคคล หรือผู๎ซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินการของนิติบุคคล

                  นั้น ต๎องรับโทษตามที่บัญญัติไว๎ส าหรับความผิดนั้นๆ ด๎วย โดยไมํปรากฏวํามีการกระท าหรือมีเจตนา
                  ประการใดอันเกี่ยวกับการกระท าความผิดของนิติบุคคลนั้น เป็นบทบัญญัติที่ขัดแย๎งตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา

                  39 วรรคสอง เป็นอันใช๎บังคับไมํได๎ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 6 ซึ่งเมื่อได๎วินิจฉัยดังนี้แล๎ว จึงไมํจ าต๎องวินิจฉัย

                  วําบทบัญญัติแหํงกฎหมายดังกลําวขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญมาตราอื่นๆหรือไมํ อีกตํอไป


                         19) ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 31/2555
                         ประเด็นเกี่ยวกับหลักความเทําเทียมกันและการเลือกปฏิบัติที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในคดีนี้คือ

                  พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 มาตรา 5 มาตรา 12 มาตรา 13 (1) (2) (7) มาตรา
                  14 มาตรา 17 และมาตรา 85 ขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา 4 และมาตรา 30 หรือไมํ และ

                  พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 ทั้งฉบับ ขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา 4 มาตรา

                  30 มาตรา 31 มาตรา 43 มาตรา 62 มาตรา 78 มาตรา 87 มาตรา 142 ถึงมาตรา153 และมาตรา 187
                  หรือไมํ

                         ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํา พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 มาตรา

                  5 มาตรา 12 มาตรา 13 (1) (2) (7) มาตรา 14 มาตรา 17 และมาตรา 85 เป็นบทบัญญัติวําด๎วยสถานภาพ
                  ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักประกันในการท างานของพนักงานมหาวิทยาลัย อ านาจหน๎าที่ของ

                  มหาวิทยาลัย รายได๎ของมหาวิทยาลัย หลักประกันในทรัพย์สินที่ใช๎ประโยชน์เกี่ยวกับการศึกษาของ
                  มหาวิทยาลัย และบทเฉพาะกาลรองรับการด าเนินการกรณีที่ต าแหนํงข๎าราชการและลูกจ๎างของสํวน

                  ราชการในมหาวิทยาลัยวํางลง บทบัญญัติดังกลําวจึงเป็นบทบัญญัติที่ก าหนดสาระส าคัญเกี่ยวกับการ
                  บริหารงานบุคคล ทรัพย์สิน และรายได๎ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อให๎การบริหารจัดการจุฬาลงกรณ์

                  มหาวิทยาลัยมีความเป็นอิสระและมีความคลํองตัว สอดคล๎องกับหลักการบริหารจัดการของหนํวยงานใน

                  ก ากับของรัฐซึ่งไมํเป็นสํวนราชการและรัฐวิสาหกิจ ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์
                  มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551 โดยบทบัญญัติดังกลําวใช๎บังคับแกํบุคคลที่เกี่ยวข๎องตามที่กฎหมายก าหนดโดย

                  เสมอกันและไมํมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 แตํอยํางใด
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187