Page 181 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 181
157
18) ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 19-20/2556
ประเด็นเกี่ยวกับหลักความเทําเทียมกันและการเลือกปฏิบัติที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในคดีนี้คือ
พระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 มาตรา 72/5 ขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา 39 วรรคสอง มาตรา 40
(5) และมาตรา 30 หรือไมํ
ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํา พระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 มาตรา 72/5 เป็นข๎อ
สันนิษฐานตามกฎหมายที่มีผลเป็นการสันนิษฐานความผิดทางอาญาของจ าเลย โดยโจทก์ไมํจ าต๎องพิสูจน์
ให๎เห็นถึงการกระท าหรือเจตนาอยํางใดอยํางหนึ่งของจ าเลยซึ่งเป็นกรรมการผู๎จัดการหุ๎นสํวนผู๎จัดการ
ผู๎แทนนิติบุคคล หรือผู๎ซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินการของนิติบุคคลนั้นวํามีสํวนรํวมเกี่ยวข๎องกับการกระท า
ความผิดของนิติบุคคลแตํอยํางใดกํอน เป็นการน าการกระท าความผิดของบุคคลอื่นมาเป็นเงื่อนไขของการ
สันนิษฐานให๎จ าเลยมีความผิดและต๎องรับโทษทางอาญา โจทก์คงพิสูจน์เพียงวํานิติบุคคลกระท าความผิด
ตามพระราชบัญญัตินี้และจ าเลยเป็นกรรมการผู๎จัดการ หุ๎นสํวนผู๎จัดการผู๎แทนนิติบุคคล หรือผู๎ซึ่ง
รับผิดชอบในการด าเนินการของนิติบุคคลดังกลําวเทํานั้น ซึ่งไมํเกี่ยวกับการกระท าของกรรมการผู๎จัดการ
หุ๎นสํวนผู๎จัดการ ผู๎แทนนิติบุคคล หรือผู๎ซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินการของนิติบุคคลที่กระท าความผิดแตํ
อยํางใด กรณีจึงเป็นการสันนิษฐานไว๎แตํแรกแล๎ววํากรรมการผู๎จัดการ หุ๎นสํวนผู๎จัดการ ผู๎แทนนิติบุคคล
หรือผู๎ซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินการของนิติบุคคลนั้นได๎กระท าความผิดรํวมกับนิติบุคคลด๎วย อันมีผลเป็น
การผลักภาระการพิสูจน์ความบริสุทธิ์ไปยังกรรมการผู๎จัดการ หุ๎นสํวนผู๎จัดการ ผู๎แทนนิติบุคคล หรือผู๎ซึ่ง
รับผิดชอบในการด าเนินการของนิติบุคคลนั้นทั้งหมดทุกคน ประกอบกับหลักพื้นฐานวําด๎วยความรับผิดทาง
อาญานั้น ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 บัญญัติวํา “บุคคลจะต๎องรับผิดในทางอาญาก็ตํอเมื่อได๎
กระท า ...” ดังนั้น บุคคลไมํวําบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลจะมีความรับผิดในทางอาญาก็ตํอเมื่อมีการ
กระท าแตํพระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 มาตรา 72/5 บัญญัติให๎กรรมการผู๎จัดการ หุ๎นสํวนผู๎จัดการผู๎แทน
นิติบุคคล หรือผู๎ซึ่งรับผิดชอบในการด าเนินการของนิติบุคคลจะต๎องรํวมรับผิดกับนิติบุคคลที่เป็นผู๎กระท า
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ โดยโจทก์ไมํต๎องพิสูจน์ให๎เห็นวําบุคคลเหลํานั้นซึ่งเป็นจ าเลยได๎มีการกระท า
หรืองดเว๎น หรือไมํกระท าการอันเป็นความผิดตามกฎหมายแตํอยํางใดกํอน
บทบัญญัติมาตราดังกลําวจึงเป็นการสันนิษฐานความผิดของผู๎ต๎องหาหรือจ าเลยในคดีอาญา โดย
อาศัยสถานะของบุคคลเป็นเงื่อนไข มิใชํการสันนิษฐานข๎อเท็จจริงที่เป็นองค์ประกอบความผิดเพียงบางข๎อ
หลังจากที่โจทก์ได๎พิสูจน์ให๎เห็นถึงการกระท าอยํางใดอยํางหนึ่งที่เกี่ยวข๎องกับความผิดที่จ าเลยถูกกลําวหา
และยังขัดกับหลักนิติธรรมที่วําโจทก์ในคดีอาญาต๎องมีภาระการพิสูจน์ถึงการกระท าความผิดของจ าเลยให๎
ครบองค์ประกอบของความผิด นอกจากนี้ บทบัญญัติมาตราดังกลําวยังเป็นการน าบุคคลเข๎าสูํกระบวนการ
ด าเนินคดีอาญาให๎ต๎องตกเป็นผู๎ต๎องหาหรือจ าเลย ซึ่งท าให๎บุคคลดังกลําวอาจถูกจ ากัดสิทธิและเสรีภาพเชํน
การถูกจับกุม หรือถูกคุมขัง โดยไมํมีพยานหลักฐานตามสมควรในเบื้องต๎นวําบุคคลนั้นได๎กระท าการหรือมี
เจตนาประการใดอันเกี่ยวกับความผิดตามที่ถูกกลําวหา พระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ. 2518 มาตรา 72/5 ใน
สํวนที่สันนิษฐานความผิดอาญาของผู๎ต๎องหาหรือจ าเลยโดยไมํปรากฏวําผู๎ต๎องหาหรือจ าเลยได๎กระท าการ