Page 180 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 180
156
บทบัญญัติแหํงกฎหมายที่กระทบตํอสิทธิมนุษยชน และมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด๎วยรัฐธรรมนูญ มาตรา
30 หรือไมํ
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวํา พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวําด๎วยการปูองกันและปราบปราม
การทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 92 วรรคสอง เป็นบทบัญญัติที่ใช๎บังคับกับข๎าราชการตุลาการหรือข๎าราชการ
อัยการ โดยหลักเกณฑ์นี้แม๎จะมีความแตกตํางจากเจ๎าหน๎าที่ของรัฐตามมาตรา 92 วรรคหนึ่ง แตํก็เป็น
บทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อให๎การด าเนินการทางวินัยซึ่งเป็นสํวนหนึ่งของการบริหารงานบุคคลของ
ข๎าราชการตุลาการและข๎าราชการอัยการ มีความเป็นอิสระตามลักษณะของภารกิจซึ่งมีความจ าเป็นและ
เพื่อให๎เกิดความเหมาะสม กลําวคือ เพื่อให๎ข๎าราชการตุลาการสามารถพิจารณาพิพากษาอรรถคดีอยํางมี
อิสระ และสอดคล๎องกับรัฐธรรมนูญ มาตรา 220 และมาตรา 224 ที่ได๎บัญญัติให๎การลงโทษผู๎พิพากษาใน
ศาลยุติธรรมและตุลาการในศาลปกครองต๎องได๎รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
หรือคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง แล๎วแตํกรณี อันเป็นการรับรองหลักประกันความเป็นอิสระของผู๎
พิพากษาและตุลาการไว๎ และเพื่อให๎ข๎าราชการอัยการมีอิสระในการพิจารณาสั่งคดีและการปฏิบัติหน๎าที่ให๎
เป็นไปโดยเที่ยงธรรมตามที่บัญญัติไว๎ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 255 อีกทั้งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
วําด๎วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 97 ได๎บัญญัติความเป็นอิสระในการ
พิจารณา ด าเนินคดีอาญาระหวํางอัยการสูงสุดกับคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไว๎ในกรณีที่ข๎อกลําวหาใดที่
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวําเป็นความผิดทางอาญา ให๎ถือวํารายงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็น
ส านวนการสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งหากอัยการสูงสุดเห็นวํารายงาน
เอกสารและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ยังไมํสมบูรณ์พอที่จะด าเนินคดีได๎ ให๎คณะกรรมการ
ป.ป.ช.และอัยการสูงสุดตั้งคณะท างานขึ้นเพื่อด าเนินการรวบรวมพยานหลักฐานให๎สมบูรณ์แล๎วสํงให๎อัยการ
สูงสุดเพื่อฟูองคดีตํอไป
ด๎วยเหตุนี้การด าเนินการทางวินัยกับข๎าราชการอัยการตามมาตรา 92 วรรคสอง หากบัญญัติให๎ถือ
วํารายงาน เอกสารและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นส านวนการสอบสวนทางวินัยของ
ข๎าราชการอัยการ ยํอมอาจท าให๎การใช๎ดุลพินิจของพนักงานอัยการในการสั่งคดีอาญาดังกลําวขาดความ
เป็นอิสระ โดยเฉพาะการพิจารณาข๎อกลําวหาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวํามีความผิดทางอาญาตาม
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวําด๎วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 97
และอาจท าให๎การตรวจสอบและถํวงดุลระหวํางพนักงานอัยการและคณะกรรมการ ป.ป.ช. สูญเสียไปด๎วย
ดังนั้น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวําด๎วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา
92 วรรคสอง จึงเป็นบทบัญญัติที่มีเจตนารมณ์เพื่อให๎การด าเนินการทางวินัยซึ่งเป็นสํวนหนึ่งของการ
บริหารงานบุคคลของข๎าราชการตุลาการศาลยุติธรรม ข๎าราชการตุลาการศาลปกครอง และข๎าราชการ
อัยการมีความเป็นอิสระตามลักษณะของภารกิจดังที่บัญญัติไว๎ในรัฐธรรมนูญซึ่งไมํมีลักษณะขัดตํอหลัก
ความเสมอภาคหรือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคล ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 แตํอยํางใด