Page 179 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 179

155


                  ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 29 และยังเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมเพราะเหตุแหํงความแตกตํางใน

                  เรื่องสถานะของบุคคล โดยมิได๎เป็นมาตรการที่รัฐก าหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสํงเสริมให๎บุคคลสามารถ
                  ใช๎สิทธิและเสรีภาพได๎เชํนเดียวกับบุคคลอื่นตามรัฐธรรมนูญมาตรา 30 วรรคสี่

                         ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํา ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (2) (3) (4) (5) (6) (7) และ (8)

                  เป็นบทบัญญัติที่จ าแนกเงินได๎พึงประเมินออกเป็นประเภทตํางๆ ไว๎ เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีเงินได๎
                  บุคคลธรรมดา ไมํมีข๎อความใดๆ อันมีลักษณะเป็นการกระทบกระเทือนหรือจ ากัดเสรีภาพในการประกอบ

                  กิจการหรือประกอบอาชีพของบุคคล และมิได๎กระทบตํอสาระส าคัญแหํงสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามที่

                  รัฐธรรมนูญรับรองไว๎อีกทั้งมิได๎เป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคล จึงไมํขัดหรือแย๎งตํอ
                  รัฐธรรมนูญ มาตรา 43 ประกอบมาตรา 29 และมาตรา 30

                         สํวนประมวลรัษฎากร มาตรา 57 ตรี ที่บัญญัติให๎สามีและภริยาที่อยูํรํวมกันตลอดปีภาษีที่ลํวง
                  มาแล๎วต๎องถือเอาเงินได๎พึงประเมินของภริยาเป็นเงินได๎ของสามี และให๎สามีมีหน๎าที่และความรับผิดในการ

                  ยื่นรายการและเสียภาษี แตํถ๎ามีภาษีค๎างช าระและภริยาได๎รับแจ๎งลํวงหน๎าไมํน๎อยกวํา 7 วันแล๎ว ให๎ภริยา
                  รํวมรับผิดในการเสียภาษีที่ค๎างช าระนั้นด๎วย เป็นการไมํยุติธรรมส าหรับภริยา เพราะภริยาอาจไมํมีสํวนรู๎

                  เห็นในเรื่องการยื่นรายการเสียภาษีด๎วย และท าให๎สามีภริยาต๎องเสียภาษีเพิ่มขึ้นจากกรณีที่ตํางฝุายตํางแยก

                  ยื่นเมื่อยังไมํมีการสมรส ประกอบกับมาตรา 57 เบญจ บัญญัติให๎แตํเฉพาะภริยาที่มีเงินได๎พึงประเมินตาม
                  มาตรา 40 (1) สามารถแยกยื่นรายการและเสียภาษีตํางหากจากสามี โดยมิให๎ถือวําเป็นเงินได๎ของสามีตาม

                  มาตรา 57 ตรี จึงถือวําเป็นการไมํสํงเสริมความเสมอภาคของชายและหญิง และยังเป็นการเลือกปฏิบัติโดย

                  ไมํเป็นธรรมตํอบุคคลเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องสถานะของบุคคลภายหลังจากการสมรสตามที่ได๎
                  บัญญัติไว๎ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 30


                         17) ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 21/2556

                         คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ ผู๎ร๎อง เสนอเรื่องขอให๎ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวําผู๎ร๎อง
                  ได๎รับเรื่องร๎องเรียนจาก ท ผู๎ร๎องเรียนวํา คณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริตแหํงชาติ

                  (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) ได๎มีมติวํา ผู๎ร๎องเรียน กระท าความผิดวินัยอยํางร๎ายแรง ผู๎ร๎องเรียนจึงขอให๎ผู๎ร๎อง

                  เสนอเรื่องตํอศาลรัฐธรรมนูญ วําพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวําด๎วยการปูองกันและปราบปราม
                  การทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 92 วรรคหนึ่ง ขัดตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา 40 (3) และ (4) เนื่องจากเป็นการ

                  จ ากัดสิทธิในการอุทธรณ์ค าสั่งตํอผู๎บังคับบัญชา และมาตรา 92 วรรคสอง ขัดตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา 30

                  โดยได๎ก าหนดกระบวนการพิจารณาความผิดวินัยไว๎เป็นพิเศษส าหรับผู๎ด ารงต าแหนํงผู๎พิพากษาศาลยุติธรรม
                  ตุลาการศาลปกครอง และพนักงานอัยการ ท าให๎การพิจารณาความผิดวินัยอยูํในอ านาจขององค์กรนั้นเอง

                  ซึ่งแตกตํางจากข๎าราชการทั่วไปที่ต๎องถูกพิจารณาความผิดวินัยโดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นการเลือก
                  ปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม ผู๎ร๎องพิจารณาแล๎วจึงเสนอเรื่องขอให๎ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวําพระราชบัญญัติ

                  ประกอบรัฐธรรมนูญวําด๎วยการปูองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 92 วรรคสอง เป็น
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184