Page 178 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 178
154
สัดสํวนพอเหมาะพอควรแกํกรณี ค านึงถึงประโยชน์สาธารณะหรือประโยชน์ของสังคมโดยรวมมากกวํา
ประโยชน์ขององค์กร
พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการฝุายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26 วรรคหนึ่ง
(10) จึงเป็นบทบัญญัติที่เปิดโอกาสให๎มีการใช๎ดุลพินิจกว๎างขวางเกินความจ าเป็นอันอาจจะสํงผลให๎มีการ
เลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอคนพิการได๎ การก าหนดคุณสมบัติและลักษณะต๎องห๎ามที่มีลักษณะเป็นการ
เลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอคนพิการไว๎ในขั้นตอนการรับสมัครบุคคลเพื่อสอบคัดเลือกเป็นข๎าราชการ
ตุลาการ โดยให๎เป็นดุลพินิจของ ก.ต. ในการพิจารณาความเหมาะสมของบุคคลที่จะให๎มีสิทธิสมัครสอบ
คัดเลือกเป็นข๎าราชการตุลาการหรือไมํนั้น เป็นการตัดสิทธิคนพิการตั้งแตํต๎น โดยไมํเปิดโอกาสให๎คนพิการ
สามารถสอบคัดเลือกได๎อยํางเทําเทียมกับบุคคลทั่วไป และไมํมีโอกาสแสดงความรู๎ความสามารถอยําง
แท๎จริงที่เกี่ยวข๎องกับต าแหนํงงานนั้นเสียกํอน ทั้งภารกิจหลักตามอ านาจหน๎าที่ของผู๎พิพากษาศาลยุติธรรม
คือการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีให๎เป็นไปโดยยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย และต๎องนั่งพิจารณา
โดยครบองค์คณะ ความพิการจึงมิได๎เป็นอุปสรรคตํอการปฏิบัติหน๎าที่ของผู๎จะเป็นข๎าราชการตุลาการ ที่จะ
มีผลตํอการให๎ความเป็นธรรมแกํคูํความหรือผู๎เกี่ยวข๎อง พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการฝุายตุลาการศาล
ยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26 วรรคหนึ่ง (10) ในสํวนที่บัญญัติให๎ผู๎สมัครสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเป็น
ข๎าราชการตุลาการต๎องมีคุณสมบัติและไมํมีลักษณะต๎องห๎ามวํา “มีกายหรือจิตใจไมํเหมาะสมที่จะเป็น
ข๎าราชการตุลาการ” จึงขัดตํอสิทธิของคนพิการในการเข๎าท างานบนพื้นฐานที่เทําเทียมกับบุคคลทั่วไปตาม
อนุสัญญาวําด๎วยสิทธิคนพิการของสหประชาชาติ และเป็นการเลือกปฏิบัติตํอบุคคลโดยไมํเป็นธรรมเพราะ
เหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องความพิการ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรคสาม
ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวํา พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการฝุายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543
มาตรา 26 วรรคหนึ่ง (10) เฉพาะในสํวนที่บัญญัติวํา “...มีกายหรือจิตใจไมํเหมาะสมที่จะเป็นข๎าราชการ
ตุลาการ...” ขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 วรรคสาม
16) ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 17/2555
ประเด็นเกี่ยวกับหลักความเทําเทียมกันและการเลือกปฏิบัติที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในคดีนี้คือ
ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (2) (3) (4) (5) (6) (7) และ (8) ประกอบมาตรา 57 ตรีและมาตรา 57 เบญจ
มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด๎วยรัฐธรรมนูญ มาตรา 43 ประกอบมาตรา 29และมาตรา 30 หรือไมํ
ผู๎ตรวจการแผํนดิน ผู๎ร๎อง เห็นวํา ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (2) (3) (4) (5) (6) (7) และ
(8)ประกอบมาตรา 57 ตรี ที่บัญญัติให๎น าเงินได๎พึงประเมินของภริยาเป็นเงินได๎ของสามี ท าให๎สามีภริยา
ต๎องเสียภาษีเพิ่มขึ้นจากตอนที่ตํางฝุายตํางแยกยื่นเมื่อยังไมํมีการสมรส และมาตรา 57 เบญจ ที่บัญญัติให๎
เฉพาะภริยาที่มีเงินได๎พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) สามารถแยกยื่นรายการและเสียภาษีตํางหากจากสามี
โดยมิให๎ถือวําเป็นเงินได๎ของสามีตามมาตรา 57 ตรี มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด๎วยรัฐธรรมนูญ มาตรา 43
โดยสร๎างความไมํเป็นธรรมด๎านภาระภาษีและเป็นการกระทบกระเทือนหรือจ ากัดเสรีภาพในการประกอบ
อาชีพของหญิงมีสามี รวมทั้งเป็นการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว๎โดยไมํจ าเป็น