Page 175 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 175

151


                  อันเป็นการขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย มาตรา 29 และ 30 ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา

                  แล๎วเห็นวํา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 156 เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับการขอด าเนินคดี
                  อยํางคนอนาถาในศาล โดยปกติการด าเนินคดีแพํงคูํความหรือผู๎ที่เข๎ามาเกี่ยวข๎องในคดีจะต๎องเสียคําใช๎จําย

                  ตํอศาลที่เรียกวํา คําธรรมเนียมศาล แตํหากเป็นบุคคลยากจนไมํมีเงินที่จะเสียคําธรรมเนียม อาจร๎องขอ

                  ด าเนินคดีอยํางคนอนาถาได๎ ..กํอนที่ศาลจะมีค าสั่งให๎คูํความด าเนินคดีอยํางคนอนาถา จะต๎องท าการไตํ
                  สวนเสียกํอนเพื่อให๎ได๎ข๎อเท็จจริงวําคูํความเป็นคนยากจนจริง ก็จะสั่งให๎คูํความที่ขอด าเนินคดีอยํางคน

                  อนาถาไมํต๎องเสียคําธรรมเนียมในชั้นศาลอุทธรณ์ ..การที่ศาลชั้นต๎นจะสั่งเชํนนี้ต๎องพิจารณาถึงเหตุผลและ

                  ความจ าเป็นของคูํความเพื่อให๎เกิดความยุติธรรมแกํคูํความทั้งสองฝุาย และเมื่อศาลชั้นต๎นสั่งอยํางไรแล๎ว ก็
                  ให๎สิทธิแกํคูํความที่ขอด าเนินคดีอยํางคนอนาถามีสิทธิอุทธรณ์ตํอไปได๎ ค าสั่งของศาลอุทธรณ์เช่นว่านี้ให้เป็น

                  ที่สุด ทีบัญญัติเช่นนี้ ก็เพื่อให้ศาลอุทธรณ์พิจารณากลั่นกรองค าสั่งศาลชั้นต้นอีกครั้ง การที่ให้ค าสั่งของศาล
                  อุทธรณ์เป็นที่สุดนั้นเนื่องจากปัญหาที่ว่าบุคคลนั้นเป็นคนยากจนหรือไม่ ได้รับการพิจารณามาแล้วถึงสอง

                  ศาล และปัญหาข้อนี้ไม่ใช่ประเด็นในคดีโดยตรง จึงควรให้ยุติที่ศาลอุทธรณ์ ไม่ควรให้ยืดเยื้อฎีกาต่อไปได้อีก
                  ซึ่งเหมาะสมและเป็นธรรมแกํคูํความแล๎ว กรณีดังกล่าวแม้เป็นการจ ากัดสิทธิอยู่บ้างแต่ก็เป็นการจ ากัดเท่าที่

                  จ าเป็นและไม่กระทบกระเทือนสาระส าคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพ นอกจากนี้ยังใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่ได้

                  มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง เป็นบทบัญญัติที่ใช๎กับ
                  คูํความอยํางเทําเทียมกันโดยไมํค านึงถึงฐานะของคูํความแตํอยํางใดประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง

                  มาตรา 156 วรรคห๎าจึงไมํขัดหรือแย๎งกับรัฐธรรมนูญมาตรา 29 และ 30


                         13) ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 11/2550

                         ประเด็นที่ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาก็คือ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
                  ปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 51 ขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

                  มาตรา ... 28 30 หรือไมํ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํามาตรา 51 ดังกลําวเป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับ
                  เรื่องระยะเวลาการฟูองคดี ที่ก าหนดให๎ผู๎ฟูองคดีที่มีข๎อพิพาทเกี่ยวกับการกระท าละเมิดหรือความรับผิด

                  อยํางอื่น ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (3)  และคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง

                  (4) จะต๎องยื่นฟูองคดีตํอศาลปกครองภายในหนึ่งปี นับแตํวันที่รู๎หรือควรรู๎ถึงเหตุแหํงการฟูองคดี เห็นได๎วํา
                  ให๎สิทธิแกํผู๎ฟูองคดีในการฟูองคดีที่เกิดขึ้นอันสอดคล๎องกับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 28 สํวน

                  รัฐธรรมนูญมาตรา 30 เป็นบทบัญญัติให๎บุคคลทุกคนยํอมเสมอกันในกฎหมาย และได๎รับการคุ๎มครองโดย

                  เทําเทียมกันในกฎหมายที่บุคคลนั้นถูกบังคับใช๎อยูํ กลําวคือ หากผู๎ฟูองคดีน าคดีมาขึ้นสูํศาลปกครอง
                  กระบวนวิธีพิจารณาความก็ยํอมมีความเทําเทียมกันกับบุคคลอื่นที่น าคดีมาขึ้นสูํศาลปกครองเชํนเดียวกัน

                  มาตรา 51 ดังกลําวจึงมิได๎ให๎สิทธิแกํบุคคลที่จะฟูองคดีตํอศาลปกครองให๎แตกตํางกัน จึงมิได๎ขัดรัฐธรรมนูญ
                  ฯ มาตรา 30 แตํอยํางใด
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180