Page 174 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 174

150


                         11) ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 10/2549

                         ประเด็นเกี่ยวกับหลักความเทําเทียมกันและการเลือกปฏิบัติที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในคดีนี้คือ
                  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 236 วรรคหนึ่ง ขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา 272

                  ประกอบมาตรา 3 มาตรา 4 มาตรา 29 มาตรา 30 และมาตรา 233 หรือไมํ

                         ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํา มาตรา 3 มาตรา 4 เป็นบทบัญญัติในหมวด 1 บททั่วไป
                  รัฐธรรมนูญ มาตรา 3 เป็นบทบัญญัติที่วําด๎วยอ านาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย ซึ่งประกอบด๎วย

                  อ านาจนิติบัญญัติ อ านาจบริหาร อ านาจตุลาการ พระมหากษัตริย์ทรงใช๎อ านาจนั้นทางรัฐสภา

                  คณะรัฐมนตรี และศาลรัฐธรรมนูญ มาตรา 4 เป็นบทบัญญัติรับรองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ และ
                  เสรีภาพของบุคคลยํอมได๎รับความคุ๎มครอง รัฐธรรมนูญ มาตรา 29 เป็นบทบัญญัติวางหลักประกันความ

                  มั่นคงแหํงสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว๎จะถูกจ ากัดมิได๎ เว๎นแตํโดยอาศัยอ านาจตาม
                  บทบัญญัติแหํงกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญก าหนดไว๎และเทําที่จ าเป็นเทํานั้น และจะ

                  กระทบกระเทือนสาระส าคัญแหํงสิทธิและเสรีภาพเป็นการวางหลักคุ๎มครองสิทธิเสรีภาพข๎องบุคคลไว๎ ถ๎า
                  รัฐสภาจะตรากฎหมายมาจ ากัดสิทธิ เสรีภาพของประชาชน กระท าได๎ภายใต๎หลักเกณฑ์ที่รัฐธรรมนูญ

                  ก าหนดเทํานั้น ทั้งต๎องมีผลใช๎บังคับเป็นการทั่วไปและไมํมุํงหมายให๎ใช๎บังคับแกํกรณีใดกรณีหนึ่ง หรือแกํ

                  บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง รัฐธรรมนูญมาตรา 30 เป็นบทบัญญัติมี่ให๎ความคุ๎มครองสิทธิเสรีภาพ
                  ของชนชาวไทยให๎มีความเสมอภาคกันตามกฎหมายและได๎รับความคุ๎มครองที่เทําเทียมกัน ประมวล

                  กฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 236 เป็นบทบัญญัติให๎สิทธิแกํคูํความยื่นค าร๎องอุทธรณ์ค าสั่งของ

                  ศาลชั้นต๎นที่ปฏิเสธไมํยอมรับอุทธรณ์ตํอศาลอุทธรณ์ หากเห็นวําค าสั่งของศาลชั้นต๎นไมํชอบด๎วยกฎหมาย
                  เป็นบทบัญญัติที่บังคับใช๎โดยทั่วไป

                         ดังนั้น มาตรา 236 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํงจึงไมํขัดหรือแย๎งกับรัฐธรรมนูญ มาตรา
                  3 มาตรา 4 มาตรา 29 และมาตรา 30 รัฐธรรมนูญ และมาตรา 233


                         12) ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 15/2549

                                                                                      66
                         ผู๎ร๎องกับพวกอ๎างวํา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 156  บัญญัติให๎คูํความที่มี
                  ฐานะยากจนมีสิทธิจะฟูองหรือตํอสู๎คดีทางศาลได๎ โดยให๎ศาลมีค าสั่งยกเว๎นคําธรรมเนียมเพื่อให๎โอกาส
                  คูํความได๎ตํอสู๎คดีถึงที่สุด ทั้งนี้หากกฎหมายก าหนดให๎คูํความจะต๎องช าระคําฤชาธรรมเนียมศาลทุกกรณี

                  แล๎วจะเป็นการตัดสิทธิหรือปิดโอกาสผู๎ซึ่งมีฐานะยากจนไมํมีเงินเพียงพอหรือไมํมีทรัพย์สินอื่นใดที่จะน ามา

                  ช าระคําธรรมเนียมศาลต๎องถูกจ ากัดสิทธิ การที่ศาลชั้นต๎นมีค าสั่งไมํรับฎีกาจึงเป็นการตัดสิทธิผู๎ร๎องกับพวก



                  66
                     คดีนี้ตัดสินกํอนมีการแก๎ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง ทั้งนี้ตํอมาในปี 2551 มาตรา 156 ได๎มีการแก๎ไข
                  เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก๎ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2551 โดยหลักการ
                  เกี่ยวกับการอุทธรณ์ค าสั่งปรากฏในมาตรา 156/1 ดังนี้ “ในกรณีที่ศาลมีค าสั่งอนุญาตให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลให้แต่
                  เฉพาะบางส่วน หรือมีค าสั่งให้ยกค าร้อง ผู้ขออาจอุทธรณ์ค าสั่งนั้นต่อศาลได้ภายในก าหนดเจ็ดวันนับแต่วันมีค าสั่ง
                  ค าสั่งของศาลอุทธรณ์เช่นว่านี้ให้เป็นที่สุด”
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179