Page 167 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 167

143


                  เกณฑ์และยังให๎สิทธิอุทธรณ์การก าหนดจ านวนเงินดังกลําวของศาลชั้นต๎นตํอศาลอุทธรณ์ได๎อีกด๎วย เป็น

                  การให๎ดุลพินิจแกํศาลที่พิจารณาคดีจะพิจารณาก าหนดจ านวนเงินได๎ตามความเหมาะสม ตามพฤติการณ์
                  แหํงคดีด๎วยความเป็นธรรม พิจารณาตามหลักการและเหตุผลข๎างต๎นแล๎วจึงมิใชํการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็น

                  ธรรมตามรัฐธรรมนูญมาตรา 30




                         3)  ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2545

                         ประเด็นเกี่ยวกับหลักความเทําเทียมกันและการเลือกปฏิบัติที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในคดีนี้คือ
                  พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการฝุายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26  (10) และการปฏิบัติ

                  หน๎าที่ของ ก.ต. และคณะอนุกรรมการตรวจสอบคุณสมบัติฯ เพื่อบรรจุเป็นข๎าราชการตุลาการในต าแหนํง
                  ผู๎ชํวยผู๎พิพากษา รุํนที่ 43 ประจ าปี พ.ศ. 2542 มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด๎วยรัฐธรรมนูญมาตรา 30

                  หรือไมํ
                         พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการฝุายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 มาตรา 26 บัญญัติวํา

                  “ผู๎สมัครสอบคัดเลือกผู๎สมัครทดสอบความรู๎ หรือผู๎สมัครเข๎ารับการคัดเลือกพิเศษเพื่อเพื่อบรรจุเป็น

                  ข๎าราชการตุลาการในต าแหนํงผู๎ชํวยผู๎พิพากษา ต๎องมีคุณสมบัติ และไมํมีลักษณะต๎องห๎ามดังตํอไปนี้...
                         (10) ไมํเป็นคนไร๎ความสามารถ คนเสมือนไร๎ความสามารถ คนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไมํ

                  สมประกอบ หรือมีกายหรือจิตใจไมํเหมาะสมที่จะเป็นข๎าราชการตุลาการหรือเป็นโรคที่ระบุไว๎ในระเบียบ

                  ของ ก.ต. และ
                         (11) เป็นผู๎ที่ผํานการตรวจรํางกายและจิตใจโดยคณะกรรมการแพทย์จ านวนไมํน๎อยกวําสามคน ซึ่ง

                  ก.ต. ก าหนด และ ก.ต. ได๎พิจารณารายงานของคณะกรรมการแพทย์แล๎วเห็นสมควรรับสมัครได๎ และวรรค
                  สอง บัญญัติวํา “หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบคุณสมบัติของผู๎สมัครสอบคัดเลือก ผู๎สมัครทดสอบความรู๎

                  หรือผู๎สมัครเข๎ารับการคัดเลือกพิเศษให๎เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ต.ก าหนด โดยประกาศใน ราชกิจจา
                  นุเบกษา”

                         รัฐธรรมนูญ มาตรา 30 ได๎บัญญัติเป็นหลักการวํา บุคคลยํอม เสมอกันในกฎหมาย และได๎รับความ

                  คุ๎มครองตามกฎหมายเทําเทียมกัน ไมํวําชายหรือหญิงมีสิทธิเทําเทียมกัน จะเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอ
                  บุคคลเพราะเหตุแหํงความแตกตําง ในเรื่องถิ่นก าเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ

                  สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อ ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็น

                  ทางการเมืองอันไมํขัดตํอบทบัญญัติแหํงรัฐธรรมนูญจะกระท ามิได๎ แตํต๎องยอมรับวํา ในการที่หนํวยงานใด
                  จะรับบุคคลเข๎าท าหน๎าที่ในต าแหนํงใด ยํอมต๎องพิจารณาถึงความรู๎ ความสามารถ ความเหมาะสมที่จะ

                  ปฏิบัติหน๎าที่นั้นด๎วย ซึ่งบางครั้งต๎องออกไปปฏิบัติหน๎าที่นอกส านักงานหรือศาล
                         ส าหรับกรณีตามค าร๎องเป็นกรณีที่นาย ศ. สมัครสอบคัดเลือกบรรจุเป็นข๎าราชการตุลาการ และ

                  แตํงตั้งให๎ด ารงต าแหนํงผู๎ชํวยผู๎พิพากษา จึงมีมาตรการที่แตกตําง และเข๎มงวดกวําการคัดเลือกบุคคลไป
                  ด ารงต าแหนํงอื่นซึ่งรัฐธรรมนูญ มาตรา 29 วรรคการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญ รับรอง
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172