Page 166 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 166

142


                  ของรัฐมนตรีมีอ านาจก าหนดให๎บริษัทเงินทุนปฏิบัติในการกู๎ยืมเงินหรือรับเงินจากประชาชน…ตาม มาตรา

                  27 และก าหนดดอกเบี้ยหรือสํวนลดที่บริษัทเงินทุนอาจจํายได๎ในการกู๎ยืมเงินหรือรับเงินจากประชาชนหรือ
                  ดอกเบี้ยหรือสํวนลดที่บริษัทเงินทุนอาจเรียกได๎ตามมาตรา 30 (1) และ (2)

                         การที่สถาบันการเงินคิดดอกเบี้ยเกินอัตราที่ประมวลกฎหมายแพํงและพาณิชย์ก าหนดไว๎ แตํไมํเกิน

                  อัตราที่รัฐมนตรีวําการกระทรวงการคลังก าหนด ตามพระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให๎กู๎ยืมของสถาบันการเงิน
                  ฯ จึงได๎รับความคุ๎มครองตามกฎหมายและเป็นไปตามพระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให๎กู๎ยืมของสถาบัน

                  การเงินฯ และพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ.

                  2522 ภายใต๎การควบคุมดูแลของกระทรวงการคลังและธนาคารแหํงประเทศไทยซึ่งเป็นหนํวยงานของรัฐที่
                  มีอ านาจหน๎าที่ก าหนดนโยบายก ากับควบคุมดูแลการบริหารการคลังและการเงินของประเทศให๎เป็นไปตาม

                  ภาวะเศรษฐกิจจึงมิใชํเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมที่ผู๎ร๎องจะยกความเทําเทียมกันตามที่รัฐธรรมนูญ
                  มาตรา 30 บัญญัติให๎ความคุ๎มครองไว๎มาใช๎แกํคดีตามค าร๎องนี้ได๎ดังนั้น พระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให๎กู๎ยืม

                  ของสถาบันการเงิน พ.ศ. 2523 ซึ่งแก๎ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให๎กู๎ยืมของสถาบันการเงิน
                  (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 ในสํวนที่เกี่ยวกับการคิดดอกเบี้ยเกินร๎อยละ 15 ตํอปีจึงไมํขัดหรือแย๎งตํอ

                  รัฐธรรมนูญ มาตรา 30


                         2)  ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 34-53/2543

                         ประเด็นเกี่ยวกับหลักความเทําเทียมกันและการเลือกปฏิบัติที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในคดีนี้คือ

                  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 286 วรรคหนึ่ง (3) ที่ให๎อ านาจศาลใช๎ดุลพินิจก าหนดสิทธิ
                  เรียกร๎องเป็นเงินที่ไมํอยูํในความรับผิดแหํงการบังคับคดีขัดหรือแย๎งตํอรัฐธรรมนูญมาตรา 30 หรือไมํ

                         ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวําประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพํง มาตรา 286 เป็น
                  บทบัญญัติที่คุ๎มครองลูกหนี้ตามค าพิพากษาให๎สามารถด ารงชีพหรือประกอบภารกิจได๎โดยอาศัยสิทธิ

                  เรียกร๎องเป็นเงินตามที่บัญญัติยกเว๎นไว๎ไมํให๎ต๎องอยูํในความรับผิดแหํงการบังคับคดีแตํมาตรา 286 วรรค
                  หนึ่ง (2) และ(3) บัญญัติแตกตํางกันมาตรา 286 วรรคหนึ่ง (3) บัญญัติให๎ศาลก าหนดจ านวนสิทธิเรียกร๎อง

                  เป็นเงินของลูกหนี้ตามค าพิพากษาที่เป็นพนักงาน ลูกจ๎าง หรือคนงาน ที่ไมํใชํเป็นข๎าราชการหรือลูกจ๎างของ

                  รัฐบาลให๎อยูํในความรับผิดแหํงการบังคับคดีได๎แตกตํางกับมาตรา 286 วรรคหนึ่ง (2) ซึ่งบัญญัติให๎สิทธิ
                  เรียกร๎องเป็นเงินลักษณะเดียวกับมาตรา 286 วรรคหนึ่ง (3) ทั้งหมด ที่ข๎าราชการหรือลูกจ๎างของรัฐบาล

                  ได๎รับไมํต๎องอยูํในความรับผิดแหํงการบังคับคดีโดยไมํต๎องให๎ศาลก าหนดดังเชํน มาตรา 286 วรรคหนึ่ง (3)

                         เมื่อพิจารณาสถานะของข๎าราชการและลูกจ๎างของรัฐบาลซึ่งต๎องอยูํในระเบียบวินัยตามกฎหมาย
                  กฎระเบียบ ยํอมไมํมีสิทธิเสรีภาพเชํนบุคคลทั่วไป ประกอบกับการประกอบอาชีพอื่นถูกจ ากัดบางประการ

                  โดยเฉพาะข๎าราชการหรือลูกจ๎างของรัฐบาลบางต าแหนํงไมํอาจประกอบอาชีพอื่นได๎คงอาศัยเงินรายได๎จาก
                  เงินเดือนและเงินอื่นตามกฎหมายก าหนด ทั้งมาตรา 286 วรรคสองก าหนดหลักเกณฑ์ให๎ศาลเป็นผู๎ก าหนด

                  สิทธิเรียกร๎องเป็นเงินของลูกหนี้ตามค าพิพากษาซึ่งเป็นพนักงาน ลูกจ๎าง หรือคนงาน ตามมาตรา 286 วรรค
                  หนึ่ง (3) ที่ไมํอยูํในความรับผิดแหํงการบังคับคดีโดยใช๎อัตราเงินเดือนขั้นต่ าสุดของข๎าราชการพลเรือนเป็น
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171