Page 163 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 163
139
8) พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
หลักกฎหมายเกี่ยวกับการห๎ามเลือกปฏิบัติปรากฏในมาตรา 22 ที่วางหลักวํา
“การปฏิบัติตํอเด็กไมํวํากรณีใด ให๎ค านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นส าคัญและไมํให๎มีการเลือก
ปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
การกระท าใดเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็ก หรือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอเด็ก
หรือไมํ ให๎พิจารณาตามแนวทางที่ก าหนดในกฎกระทรวง”
จะเห็นได๎วํา กฎหมายนี้ก าหนดให๎มีการออกกฎกระทรวงเพื่อก าหนดรายละเอียดแนวทางพิจารณา
วําการกระท าอยํางไรเป็นการเลือกปฏิบัติส าหรับกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้ได๎แกํ
กฎกระทรวงก าหนดแนวทางการพิจารณาว่าการกระท าใดเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็ก
หรือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อเด็ก พ.ศ. 2549 ซึ่งมีหลักการเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติไว๎ในข๎อ
2 ดังนี้
“การปฏิบัติตํอเด็กไมํวํากรณีใดโดยไมํเทําเทียมกัน เพราะเหตุความแตกตํางในเรื่องถิ่นก าเนิด เชื้อ
ชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความ
เชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อ
เด็ก
การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอเด็ก หมายความรวมถึง การปฏิบัติใดๆ ตํอเด็กที่แม๎จะใช๎
หลักเกณฑ์เดียวกันกับบุคคลอื่นและผู๎ปฏิบัติไมํได๎มีเจตนาเลือกปฏิบัติหรือเจตนากลั่นแกล๎งผู๎ได๎รับผลร๎าย
หรือผลกระทบก็ตาม แตํมีผลท าให๎เกิดความแตกตํางกันตํอเด็กบางคนหรือบางกลุํมอยํางชัดเจนเพราะเหตุ
ตามวรรคหนึ่ง
การเลือกปฏิบัติตํอเด็กเพราะเหตุตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองอาจกระท าได๎หากเป็นไปโดยมี
เหตุผลทางหลักวิชาการ วิทยาศาสตร์ ความเชื่อทางศาสนา จารีตประเพณีและวัฒนธรรม ลักษณะ
เฉพาะตัวของเด็กหรือเหตุผลอันสมควรประการอื่น”
9) พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550
หลักกฎหมายเกี่ยวกับการห๎ามเลือกปฏิบัติปรากฏในมาตรา 7 ที่วางหลักวํา
“ให๎เด็กและเยาวชนทุกคนมีสิทธิได๎รับการจดทะเบียนรับรองการเกิด การพัฒนา การยอมรับ การ
คุ๎มครองและโอกาสในการมีสํวนรํวมตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข๎องอยํางเทํา
เทียม โดยไมํมีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่นก าเนิด เชื้อชาติ
ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม
ความเชื่อทางศาสนาและวัฒนธรรม การศึกษาอบรม ความคิดเห็นทางการเมือง การเกิดหรือสถานะอื่นของ
เด็กและเยาวชน บิดามารดา หรือผู๎ปกครอง”