Page 165 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 165

141


                         มาตรา 7  ให๎เด็กและเยาวชนทุกคนมีสิทธิได๎รับการจดทะเบียนรับรองการเกิด การพัฒนา การ

                  ยอมรับ การคุ๎มครองและโอกาสในการมีสํวนรํวมตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอื่นที่
                  เกี่ยวข๎องอยํางเทําเทียม โดยไมํมีการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่น

                  ก าเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทาง

                  เศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนาและวัฒนธรรม การศึกษาอบรม ความคิดเห็นทางการเมือง การ
                  เกิดหรือสถานะอื่นของเด็กและเยาวชน บิดามารดา หรือผู๎ปกครอง



                         13) พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
                         หลักกฎหมายเกี่ยวกับการห๎ามเลือกปฏิบัติปรากฏในมาตรา 5 ที่วางหลักวํา
                               65
                         “วัยรุํน  มีสิทธิตัดสินใจด๎วยตนเอง และมีสิทธิได๎รับข๎อมูลขําวสารและความรู๎ ได๎รับการบริการ
                  อนามัยการเจริญพันธุ์ ได๎รับการรักษาความลับและความเป็นสํวนตัว ได๎รับการจัดสวัสดิการสังคมอย่าง

                  เสมอภาคและไม่ถูกเลือกปฏิบัติ และได๎รับสิทธิอื่นใดที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้อยําง
                  ถูกต๎อง ครบถ๎วน และเพียงพอ”




                  3.5 แนวค าพิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองที่เกี่ยวข้องกับหลักความเท่าเทียมและการ

                  เลือกปฏิบัติ


                         3.5.1 ค าพิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับหลักความเท่าเทียมและการเลือกปฏิบัติ

                         ในสํวนนี้จะได๎ศึกษาค าพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับหลักความเทําเทียมและการเลือกปฏิบัติ


                         1)  ค าวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 5/2542
                         ประเด็นเกี่ยวกับหลักความเทําเทียมกันและการเลือกปฏิบัติที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในคดีนี้คือ

                  การที่บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์โจทก์ เรียกดอกเบี้ยเงินกู๎ยืมจากจ าเลยเกินร๎อยละ 15 ตํอปีตามประกาศ

                  บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ส ประกาศของธนาคารแหํงประเทศไทย และพระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให๎กู๎ยืม
                  ของสถาบันการเงิน (ฉบับที่3) พ.ศ. 2534 เป็นการขัดตํอรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 หรือไมํ

                         ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาแล๎วเห็นวํา รัฐธรรมนูญ หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
                  มาตรา 30 เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับการคุ๎มครองสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ให๎บุคคลมีความเสมอกัน

                  ในกฎหมาย และได๎รับความคุ๎มครองตามกฎหมายเทําเทียมกัน สํวนพระราชบัญญัติดอกเบี้ยเงินให๎กู๎ยืมของ

                  สถาบันการเงินฯ บัญญัติให๎สถาบันการเงินซึ่งเป็นนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์ในการประกอบธุรกิจเงินทุนคิด
                  ดอกเบี้ยได๎ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ ประกอบกับพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจ

                  หลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ. 2522 บัญญัติให๎ธนาคารแหํงประเทศไทยด๎วยความเห็นชอบ


                  65
                     ตามกฎหมายนี้นิยามความหมายค าวํา“วัยรุํน” วําหมายถึง “บุคคลอายุเกินสิบปีบริบูรณ์ แตํยังไมํถึงยี่สิบปีบริบูรณ์”
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170