Page 156 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 156
132
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550
หลักความเสมอภาคและห๎ามเลือกปฏิบัติปรากฏใน มาตรา 30 ที่วางหลักไว๎ดังนี้
“บุคคลยํอมเสมอกันในกฎหมายและได๎รับความคุ๎มครองตามกฎหมายเทําเทียมกัน
ชายและหญิงมีสิทธิเทําเทียมกัน
การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคลเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่นก าเนิดเชื้อชาติ
ภาษาเพศอายุความพิการสภาพทางกายหรือสุขภาพสถานะของบุคคลฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคมความ
เชื่อทางศาสนาการศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมํขัดตํอบทบัญญัติแหํงรัฐธรรมนูญจะ
กระท ามิได๎
มาตรการที่รัฐก าหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสํงเสริมให๎บุคคลสามารถใช๎สิทธิและเสรีภาพได๎
เชํนเดียวกับบุคคลอื่นยํอมไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตามวรรคสาม”
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
มาตรา 4 วางหลักไว๎วํา
“ภายใต๎บังคับบทบัญญัติแหํงรัฐธรรมนูญนี้ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอ
ภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยได๎รับการคุ๎มครองตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และตามพันธกรณีระหวํางประเทศที่ประเทศไทยมีอยูํ
แล๎ว ยํอมได๎รับการคุ๎มครองตามรัฐธรรมนูญนี้”
นอกจากนี้ หลักความเสมอภาคและการไมํเลือกปฏิบัติยังปรากฏในรํางรัฐธรรมนูญซึ่งยังไมํมีผล
60
บังคับ ดังเชํน
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับเสนอสภาปฏิรูปแห่งชาติลงมติ
มาตรา 35
“บุคคลยํอมเสมอกันในกฎหมายและได๎รับความคุ๎มครองตามกฎหมายเทําเทียมกัน
ชายและหญิงมีสิทธิและเสรีภาพเทําเทียมกัน
การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคลเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่นก าเนิด เชื้อชาติ
ภาษา เพศ เพศสภาพ อายุ ความพิการ สภาพทางกาย สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือ
สังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมํขัดตํอบทบัญญัติแหํง
รัฐธรรมนูญ จะกระท ามิได๎
60
ส านักงานเลขาธิการสภาผู๎แทนราษฎร, เทียบรัฐธรรมนูญ ปี 2540-2550 รํางรัฐธรรมนูญฉบับเสนอสภาปฏิรูปแหํงชาติ
ลงมติ และ รํางรัฐธรรมนูญเบื้องต๎น (ปี 59), เว็บไซต์คณะกรรมการรํางรัฐธรรมนูญ,
http://cdc.parliament.go.th/draftconstitution2/main.php?filename=index