Page 154 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 154

130


                  ยังวางหลักการปฏิบัติเกี่ยวกับการจ๎างงานในลักษณะอื่นที่มิชอบด๎วยกฎหมาย (Other  Unlawful

                  Employment Practices) ซึ่งรวมถึงการพิมพ์ เผยแพรํ หรือกํอให๎เกิดการพิมพ์ เผยแพรํ ประกาศโฆษณา
                  ใดๆ เกี่ยวกับการจ๎างงานที่บํงชี้ถึงการให๎สิทธิพิเศษหรือการปฏิบัติอันเป็นที่พึงพอใจพิเศษ (Preference)

                  การจ ากัด การระบุคุณสมบัติ หรือ การเลือกปฏิบัติ ด๎วยเหตุแหํงเชื้อชาติ สีผิว ศาสนา เพศ ชาติก าเนิด เว๎น

                  แตํเป็นการกระท าโดยสุจริต (Bona Fide) อันเกี่ยวข๎องกับการก าหนดคุณสมบัติการท างานในสาขาอาชีพ
                     58
                  นั้น
                         คณะกรรมการความเทําเทียมกันในการจ๎างงาน (Equal  Employment  Opportunity

                  Commission  (EEOC)  เป็นองค์กรระดับรัฐบาลกลางที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายสิทธิพลเมือง ในกรณีการ
                  เลือกปฏิบัติเกี่ยวกับการท างาน EEOC  มีอ านาจไตํสวนค าร๎องที่อ๎างวําถูกเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุที่กฎหมาย

                  ก าหนด
                         ส าหรับงานวิจัยนี้จะมุํงเน๎นการศึกษากฎหมายสหรัฐอเมริกาเฉพาะในสํวนของการเลือกปฏิบัติใน

                  มิติการจ๎างแรงงานในกรณีของการคุกคามทางเพศในสถานที่ท างาน ในกรณีนี้ พบวํา EEOC  ก าหนดแนว
                  ปฏิบัติ (Guidelines)  ในการนิยามความหมายและบังคับใช๎กฎหมายสิทธิพลเมืองในสํวนที่เกี่ยวกับการ

                  คุกคามทางเพศในที่ท างาน นิยามของการคุกคามทางเพศมีดังนี้

                         การเรียกร๎องเกี่ยวกับเรื่องทางเพศโดยไมํพึงประสงค์ หรือการกระท าด๎วยวาจาหรือทางกายภาพซึ่ง
                  มีลักษณะเกี่ยวกับเพศ เมื่อการกระท าดังกลําวเกี่ยวข๎องกับกรณีตํางๆ ดังนี้

                         กรณีที่ 1 การตกลงยอมรับการกระท าเชํนนั้นท าขึ้นโดยชัดแจ๎งหรือปริยายในเงื่อนไขข๎อก าหนด

                  ของการจ๎างงาน
                         กรณีที่ 2 การตกลงยอมรับหรือการปฏิเสธการกระท าดังกลําว ถูกใช๎เป็นพื้นฐานของการตัดสินใจ

                  เกี่ยวกับการจ๎างงานซึ่งสํงผลกระทบตํอบุคคลนั้น
                         กรณีที่ 3 การกระท าเชํนนั้นมีวัตถุประสงค์หรือผลกระทบในการขัดขวางการท างานขอบ

                  ผู๎ถูกกระท าอยํางไมํสมเหตุสมผลหรือเป็นการสร๎างสภาพแวดล๎อมในการท างานอันมีลักษณะรบกวน เป็น
                  ปฏิปักษ์ หรือคุกคาม (Hostile Working Environment)

                         กรณีที่ 1 และ 2 อาจเรียกวํา การคุกคามทางเพศในเชิงแลกเปลี่ยน (Quid Pro Quo) ซึ่งเกิดขึ้น

                  เมื่อผลประโยชน์ใดๆเกี่ยวกับการจ๎างงานถูกน ามาผูกโยงกับการเรียกร๎องที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเพศ
                  การคุกคามในลักษณะนี้เกิดขึ้นได๎ทั้งกรณีที่ลูกจ๎างปฏิเสธและได๎รับผลร๎ายหรือไมํได๎รับโอกาสอันเกี่ยวกับ

                  การท างาน รวมทั้งในกรณีที่ลูกจ๎างตกลงยินยอมเพื่อหลีกเลี่ยงผลร๎ายที่จะเกิดขึ้นหากปฏิเสธ ส าหรับกรณีที่

                  3 อาจเรียกวํา การสร๎างสภาพแวดล๎อมในการท างานอันมีลักษณะคุกคาม สภาพแวดล๎อมนี้เกิดขึ้นเมื่อ
                  ลูกจ๎างจ าเป็นต๎องอยูํภายใต๎ค ากลําว กิริยาทําทาง การปฏิบัติที่มีลักษณะทางเพศโดยไมํพึงประสงค์ รวมทั้ง

                  การกระท าทางกายภาพ อยํางไรก็ตาม พฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งยังไมํอาจสรุปได๎วําเป็นกรณี
                  สภาพแวดล๎อมในการท างานอันมีลักษณะคุกคาม เนื่องจากอาจต๎องพิจารณาในภาพรวมซึ่งประกอบด๎วย




                  58  SEC. 2000e-3. [Section 704]
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159