Page 155 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 155

131


                  พฤติกรรมหลายพฤติกรรม ดังนั้น ในการพิจารณาวํามีสภาพแวดล๎อมดังกลําวหรือไมํ EEOC  จะน าปัจจัย

                  ตํางๆ มาประกอบการพิจารณา โดยเฉพาะ ปัจจัยด๎าน “ความรุนแรง”  (Serious)  และ “ความถี่”
                  (Frequent)  ของพฤติกรรมที่อ๎างวํามีสํวนกํอให๎เกิดสภาพแวดล๎อมดังกลําว อยํางไรก็ตาม ในบาง

                  สถานการณ์นั้น การคุกคามทั้งสองกรณีอาจทับซ๎อนกันได๎ เชํน ภายใต๎สภาพแวดล๎อมการท างานที่มีลักษณะ

                  คุกคามนั้น หัวหน๎างานอาจเรียกร๎องให๎ลูกจ๎างปฏิบัติตํอตนในลักษณะที่พึงพอใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับเรื่องทาง
                                                                            59
                  เพศ ซึ่งเมื่อลูกจ๎างปฏิเสธจะมีผลตํอความก๎าวหน๎าในงานหรือถูกเลิกจ๎าง
                         กฎหมายตํางประเทศที่เกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันและการเลือกปฏิบัติในสํวนนี้จะได๎น ามา

                  ประกอบการศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นตํางๆ ตํอไปในบทที่ 4


                  3.4 กฎหมายไทยที่เกี่ยวกับหลักความเท่าเทียมกันและการห้ามเลือกปฏิบัติ


                         ในสํวนนี้จะศึกษากฎหมายไทยโดยชี้ให๎เห็นหลักกฎหมายเกี่ยวกับความเสมอภาคและการห๎าม
                  เลือกปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย รวมทั้งรํางรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข๎อง และกฎหมาย

                  เฉพาะที่เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติและมิติของการเลือกปฏิบัติตํางๆ จากนั้นจะศึกษาค าพิพากษา

                  ของศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองในประเด็นที่เกี่ยวข๎องกับหลักความเสมอภาคและการห๎ามเลือกปฏิบัติ


                         1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หลักความเสมอภาคและการไมํเลือกปฏิบัติปรากฏใน

                  รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทยหลายฉบับ ดังเชํน


                         รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช2540
                         หลักความเสมอภาคและห๎ามเลือกปฏิบัติปรากฏใน มาตรา 30 ที่วางหลักไว๎ดังนี้

                                “บุคคลยํอมเสมอกันในกฎหมายและได๎รับความคุ๎มครองตามกฎหมายเทําเทียมกัน
                                ชายและหญิงมีสิทธิเทําเทียมกัน

                                การเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตํอบุคคลเพราะเหตุแหํงความแตกตํางในเรื่องถิ่นก าเนิด

                  เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคลฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความ
                  เชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรมหรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมํขัดตํอบทบัญญัติแหํงรัฐธรรมนูญ จะ

                  กระท ามิได๎

                                มาตรการที่รัฐก าหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสํงเสริมให๎บุคคลสามารถใช๎สิทธิและ
                  เสรีภาพได๎เชํนเดียวกับบุคคลอื่นยํอมไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรมตามวรรคสาม”







                  59  Section 704(a) of Title VII
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160