Page 152 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 152
128
“บุคคลจะต๎องไมํถูกปฏิบัติในลักษณะอันเป็นที่พึงพอใจน๎อยกวําหรือในลักษณะที่ท าให๎บุคคลนั้น
ได๎รับความทุกข์จากผลกระทบทางลบอันเกิดจากการที่บุคคลนั้นเรียกร๎องสิทธิตามกฎหมายนี้ หรือกระท า
การใดเพื่อปกปูองความเทําเทียมกัน”
51
ห้ามเลือกปฏิบัติในการโฆษณาเกี่ยวกับการจ้างแรงงาน กฎหมายวางหลักวํา
“ในการเปิดรับสมัครงานตํอสาธารณะนั้น นายจ๎างจะต๎องไมํก าหนดให๎ผู๎สมัครต๎องมีคุณลักษณะ
สํวนบุคคลหรือมีคุณสมบัติใดๆที่เกี่ยวข๎องกับเหตุแหํงการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายนี้”
ส าหรับการบังคับใช๎กฎหมาย ได๎ก าหนดให๎มี “ผู้ตรวจการเกี่ยวกับการห้ามเลือกปฏิบัติ” (Non-
52
Discrimination Ombudsman) ซึ่งมีอ านาจหน๎าที่ส าคัญคือ
- ให๎ความชํวยเหลือแกํเหยื่อของการเลือกปฏิบัติในการด าเนินกระบวนการร๎องเรียน
- ให๎ความชํวยเหลือหนํวยงานตํางๆที่มีหน๎าที่ตามกฎหมายนี้ในการสํงเสริมความเทําเทียมกัน
- ก าหนดข๎อเสนอแนะทั่วไป (General Recommendation) เพื่อปูองกันการเลือกปฏิบัติและ
สํงเสริมความเทําเทียมกัน
- ไกลํเกลี่ยข๎อพิพาทตามกฎหมายนี้
- ท าความเห็นเพื่อปูองกันการกระท าอันฝุาฝืนกฎหมายนี้ หรือปูองกันการกระท าซ้ า กระท าตํอไป
ซึ่งการฝุาฝืนดังกลําว เว๎นแตํการกระท าที่อยูํในอ านาจของหนํวยงานด๎านความปลอดภัยและสุขภาพ
(Safety and Health Authority)
นอกจากนี้ กฎหมายยังก าหนดให๎มี “คณะผู้พิจารณาเกี่ยวกับการห้ามเลือกปฏิบัติและความเท่า
เทียมกันแห่งชาติ” (National Non-Discrimination and Equality Tribunal) มีอ านาจหน๎าที่ส าคัญ
53
ดังนี้
- รับรองการไกลํเกลี่ยข๎อพิพาทที่เกี่ยวข๎องกับการเลือกปฏิบัติ เว๎นแตํการไกลํเกลี่ยนั้นมิชอบด๎วย
กฎหมายหรือไมํสมเหตุสมผลหรือละเมิดสิทธิบุคคลที่สาม การไกลํเกลี่ยซึ่งได๎รับการรับรองโดยคณะผู๎
พิจารณานี้จะมีผลผูกพันเชํนเดียวกับค าพิพากษาของศาล
- จัดท าเอกสารแสดงถึงการตีความกฎหมายฉบับนี้ ตามค าร๎องขอของศาลหรือผู๎ตรวจการเกี่ยวกับ
การห๎ามเลือกปฏิบัติ
- สั่งห๎ามคูํกรณีที่เกี่ยวข๎องกับการเลือกปฏิบัติในการท าซ้ าหรือกระท าตํอไปซึ่งการเลือกปฏิบัติ
หรือสั่งให๎บุคคลกระท าการตามหน๎าที่ซึ่งก าหนดไว๎ในกฎหมายนี้ นอกจากนี้คณะผู๎พิจารณาสามารถก าหนด
เงื่อนไขคําปรับประกอบค าสั่งดังกลําวได๎
54
ส าหรับการน าคดีเข๎าสูํการพิจารณาของคณะผู๎พิจารณานั้น กฎหมายก าหนดวํา
51
มาตรา 17
52
มาตรา 19
53
มาตรา 20
54 มาตรา 21