Page 150 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 150
126
นายจ๎างซึ่งมีลูกจ๎างอยํางน๎อย 30 คน จะต๎องมีแผนส าหรับมาตรการที่จ าเป็นเพื่อการสํงเสริมความ
เทําเทียมกัน โดยต๎องให๎ลูกจ๎างหรือผู๎แทนมีสํวนรํวมในการก าหนดมาตรการดังกลําวด๎วย”
นอกจากก าหนดหน๎าที่ให๎หนํวยงานและองค์กรที่เกี่ยวข๎องท าการสํงเสริมความเทําเทียมกันแล๎ว
กฎหมายยังวางหลักห๎ามเลือกปฏิบัติ (Prohibition of Discrimination) โดยจ าแนกการเลือกปฏิบัติอยําง
ละเอียดดังนี้
42
- หลักทั่วไปของการห๎ามเลือกปฏิบัติ: กฎหมายวางหลักวํา
“ห๎ามเลือกปฏิบัติบุคคลใดด๎วยเหตุแหํง อายุ ถิ่นก าเนิด สัญชาติ ภาษา ศาสนา ความเชื่อ ความ
คิดเห็น กิจกรรมทางการเมือง กิจกรรมการค๎า ความสัมพันธ์ทางครอบครัว สถานะทางสุขภาพ ความพิการ
รสนิยมทางเพศ หรือ คุณลักษณะอื่นๆของบุคคล การเลือกปฏิบัตินั้นเป็นสิ่งที่ต๎องห๎ามโดยไมํค านึงวําการ
เลือกปฏิบัตินั้นอยูํบนพื้นฐานข๎อเท็จจริงหรือข๎อสมมุติฐานเกี่ยวกับบุคคลนั้นเองหรือบุคคลอื่น
นอกจากการเลือกปฏิบัติโดยตรงและโดยอ๎อมแล๎ว การคุกคาม (Harassment) การไมํจัดให๎มีการ
ชํวยเหลืออยํางสมเหตุผล (Reasonable Accommodation) ถือเป็นการเลือกปฏิบัติตามกฎหมายนี้ด๎วย”
43
มาตรการเชิงบวก (Positive Action): กฎหมายวางหลักวํา
“การปฏิบัติแตกตํางกันอยํางได๎สัดสํวน (Proportionate Different Treatment) ด๎วย
วัตถุประสงค์เพื่อท าให๎เกิดความเทําเทียมกันเชิงพฤตินัย (De Facto Equality) หรือเพื่อปูองกันหรือขจัด
เสียซึ่งความเสียเปรียบอันสืบเนื่องจากการเลือกปฏิบัติ ไมํถือวําเป็นการเลือกปฏิบัติ”
44
การเลือกปฏิบัติโดยตรง (Direct Discrimination) : กฎหมายวางหลักวํา
“การเลือกปฏิบัติโดยตรงเกิดขึ้นเมื่อ บุคคลได๎รับการปฏิบัติในลักษณะอันเป็นที่พึงพอใจน๎อยกวํา
บุคคลอื่นซึ่งได๎รับการปฏิบัติหรือจะได๎รับการปฏิบัติในสถานการณ์ที่เปรียบเทียบกันได๎ (comparable
situation)”
45
เหตุผลของการปฏิบัติที่แตกต่างกัน (Justification for Different Treatment) : กฎหมายวาง
หลักวํา
“การปฏิบัติที่แตกตํางกัน ไมํถือเป็นการเลือกปฏิบัติ หากการปฏิบัตินั้นอยูํบนพื้นฐานของกฎหมาย
และเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ที่ยอมรับได๎ (Acceptable Objective) และมาตรการที่จะน าไปสูํวัตถุประสงค์
นั้นเป็นมาตรการที่ได๎สัดสํวน”
ส าหรับเหตุผลของการปฏิบัติที่แตกตํางกันในกรณีการจ๎างแรงงานนั้นได๎แยกก าหนดไว๎เป็นการ
เฉพาะ ซึ่งมีหลักวํา
“การปฏิบัติที่แตกตํางกันในการจ๎างแรงงานหรือการท างานในภาครัฐ ถือวํามีเหตุผลสมควร หาก
เป็นกรณีเกี่ยวกับการก าหนดคุณสมบัติหรือเงื่อนไขที่ส าคัญและจ าเป็นอยํางแท๎จริงส าหรับอาชีพและการ
42
มาตรา 8
43
มาตรา 9
44
มาตรา 10
45 มาตรา 11