Page 147 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 147
123
- ห๎ามเลือกปฏิบัติตํอพลเมืองตามกฎหมายที่เกี่ยวกับการได๎มา ถือครอง หรือจ าหนํายซึ่งทรัพย์สิน
หรือการด าเนินการทางการค๎า ธุรกิจ วิชาชีพ การจ๎างแรงงาน ด๎วยเหตุแหํง ศาสนา เชื้อชาติ บรรพบุรุษ ถิ่น
ก าเนิด เว๎นแตํเป็นกรณีที่รัฐธรรมนูญก าหนดไว๎อยํางขัดแจ๎ง
- ห๎ามหนํวยงานของรัฐเลือกปฏิบัติตํอบุคคลด๎วยเหตุที่บุคคลนั้นเป็นผู๎อยูํอาศัยหรือประกอบธุรกิจ
ในพื้นที่ใดๆ ของสาธารณรัฐ
อยํางไรก็ตาม หลักห๎ามเลือกปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 8 มีข๎อยกเว๎นหลายกรณี เชํน กรณีมี
บทบัญญัติหรือแนวปฏิบัติในการจ ากัดการท างานที่เกี่ยวข๎องกับศาสนา กรณีมีบทบัญญัติใดๆ ที่คุ๎มครอง
ความเป็นอยูํของชาวพื้นเมือง (Aboriginal People) เป็นต๎น
มาตรา 12 มีหลักส าคัญวํา
นอกจากกรณีตามมาตรา 8 แล๎ว ห๎ามเลือกปฏิบัติตํอพลเมืองด๎วยเหตุแหํงศาสนา เชื้อชาติ บรรพ
บุรุษ หรือถิ่นก าเนิด ในกรณีที่เกี่ยวกับการศึกษาซึ่งจัดโดยองค์กรของรัฐ
- กลุํมทางศาสนาทุกกลุํมมีสิทธิจัดตั้งและด าเนินการสถาบันการศึกษาตามศาสนาของตน
- บุคคลจะต๎องไมํถูกบังคับให๎เข๎ารํวมกิจกรรมทางศาสนาใด ที่มิใชํศาสนาของตน อยํางไรก็ตาม
ส าหรับบุคคลที่อายุต่ ากวํา 18 ปีนั้น ผู๎ปกครองมีอ านาจตัดสินใจเกี่ยวกับศาสนาของบุคคลดังกลําว
นอกจากรัฐธรรมนูญแล๎ว กฎหมายเฉพาะของมาเลเซียที่จะน ามาศึกษาส าหรับงานวิจัยนี้ คือ
กฎหมายเฉพาะในสํวนที่เกี่ยวกับการคุกคามทางเพศในสถานที่ท างาน (Sexual Harassment) ในปี 1999
กระทรวงทรัพยากรมนุษย์ของมาเลเซีย (Ministry of Human Resource) จัดท า “ประมวลแนวปฏิบัติใน
การปูองกันและขจัดการคุกคามทางเพศในที่ท างาน” (Code of Practice on the Prevention and
Eradication of Sexual Harassment in the Workplace) โดยมีหลักการก าหนดนิยามและวางแนวทาง
ปฏิบัติเพื่อขจัดปัญหาการคุกคามทางเพศในที่ท างาน ประมวลแนวปฏิบัตินี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็น
แนวทางส าหรับนายจ๎างในการปูองกัน แก๎ไข และก าหนดกลไกการเยียวยาส าหรับปัญหาการคุกคามทาง
เพศ โดยมุํงเน๎นการปูองกันมิให๎การคุกคามทางเพศเกิดขึ้น แตํหากเกิดขึ้นแล๎วก็จะมีกลไกและกระบวนการ
ในการรับมือแก๎ไขเยียวยา รวมทั้งปูองกันมิให๎เกิดปัญหานั้นซ้ าอีก อยํางไรก็ตาม ประมวลแนวปฏิบัตินี้เป็น
เพียงแนวทางที่ภาครัฐก าหนดขึ้น (Guidelines) โดยไมํมีผลทางกฎหมาย รัฐบาลมาเลเซียมุํงหวังให๎นายจ๎าง
น าเอาหลักการของประมวลแนวปฏิบัตินี้ไปก าหนดไว๎ในข๎อบังคับการท างานของแตํละองค์กร เพื่อปูองกัน
และแก๎ไขปัญหาการคุกคามทางเพศในที่ท างาน
หลักการส าคัญของ “ประมวลแนวปฏิบัติในการป้องกันและขจัดการคุกคามทางเพศในที่
ท างาน”
ประมวลแนวปฏิบัติในการปูองกันและขจัดการคุกคามทางเพศในที่ท างาน (Code of Practice on
35
the Prevention and Eradication of Sexual Harassment in the Workplace)
35
Ministry of Human Resources, Code of Practice on the Prevention and Eradication of Sexual
Harassment in the Workplace, 1999